Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53329
Title: | รอยแตกของแนวชั้นหินคดโค้งเลย-เพชรบูรณ์บริเวณอ่างเก็บน้ำคลองลำกง จังหวัดเพชรบูรณ์ |
Other Titles: | Fractures of the Loei-Petchabun fold belt at Klong Lamgong reservoir, Changwat Petchabun |
Authors: | ศิริรัตน์ ทรัพย์สกุล |
Advisors: | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | pitsanupong.k@hotmail.com |
Subjects: | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เพชรบูรณ์ Geology, Structural -- Thailand -- Petchabun |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | เขาตาราด ตั้ง อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอ่างเก็บน้ำ คลองลำกง จังหวัดเพชรบูรณ์ มี ความยาวประมาณ 8 กิโลเมตร วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ ลักษณะทางธรณีวิทยาของแนวเขาดังกล่าว ประกอบไปด้วยหินตะกอนเนือ้ ประสมขนาดละเอียดและหินปูนในยุคเพอร์เมียน บางบริเวณพบเป็น หินตะกอนภูเขาไฟ แนวเขาตาราดนี้อยู่ในแนวชั้น หินคดโค้งเลย-เพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการชน กันของแผ่นเปลือกโลกไซบูมาสุและแผ่นเปลือกโลกอินโดจีน จากการสำรวจภาคสนามและการวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้างระดับจุลภาค ได้ถูกนำมา ศึกษาและวิเคราะห์ร่วมกันเพื่อใช้ในการอธิบายธรณีวิทยาโครงสร้างของแนวรอยแตกของเขาตาราด บริเวณอ่างเก็บน้ำ คลองลำกง จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งพบว่ารอยแตกในพืน้ ที่ศึกษา มีรอยแตกที่ตั้งฉาก กัน (orthogonal fracture) ทัง้ หมด 3 แนว อยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้, แนว ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ และแนวตะวันออก-ตะวันตก และมีรอยแตกมุมสูง (high angle fracture) 1 แนว อยู่ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ สัมพันธ์กับการเกิดชัน้ หินคด โค้งในบริเวณที่ศึกษา โดยมีการวางตัวในแนวเดียวกันกับระนาบแกนการโค้ง (axial plane) จาก ลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างของแนวรอยแตกและวิวัฒนาการธรณีวิทยาโครงสร้างของแนวรอยแตก ของเขาตาราด บริเวณอ่างเก็บน้ำ คลองลำกง จังหวัดเพชรบูรณ์แล้ว คาดว่าน่าจะมีความสัมพันธ์กับ การเกิดชั้น หินคดโค้งเลย-เพชรบูรณ์ ในช่วงปลายยุคไทรแอสซิก |
Other Abstract: | Khao Ta Rad, located in Southwest of Klong Lamgong Reservoir, Changwat Petchabun, is in Loei-Petchabun Fold Belt, which developed as a consequence of Sibumasu-Indochina terrane Collision in Triassic. The mountian is the 8 km mountain range lying in N-S direction and composed of Permian fine-grained clastic sedimentary rock and a part of limestone and volcanic clastic sedimentary rock. Based on evidences in mesoscopic structure from field observation and microstructure of study area, fractures in the area consist of orthogonal fractures 3 directions: NW-SE, NE-SW and E-W and high angle fractures, which orient in the northeast-southwest trend, relate to folding in this area and parallel to axial plane of fold. All structural elements, structural style and structural evolution of fractures relate to Loei-Petchabun Fold Belt activity during Late Triassic. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53329 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5332139623 ศิริรัตน์ ทรัพย์สกุล.pdf | 6.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.