Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53341
Title: | Thais and Koreans attitudes and consumer behavior towards premium coffee |
Other Titles: | ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคกาแฟพรีเมียมของคนไทยและคนเกาหลี |
Authors: | Sasivimon Paisansuthidej |
Advisors: | Buddhagarn Ratchatorn Nak Gulid |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | buddhagarn.r@chula.ac.th Nakgulid@gmail.com |
Subjects: | Starbucks Coffee shops Consumers -- Attitudes Consumer behavior สตาร์บัคส์ ร้านกาแฟ ผู้บริโภค -- ทัศนคติ พฤติกรรมผู้บริโภค |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The objective of this study is to understand about the relationship between the consumer and the brand image of Starbucks Coffee. The author chose to study "Starbucks" because of the "Starbucks" is an American coffee shop, which is worldwide well-known. Starbucks offers the unique with distinctive patterns decorating, the coffee flavors, and impressive service. Drinking coffee in Thailand and Korea originally had a culture of elites before. Later it was spread to the middle classes and to the ordinaries. The coffee shop happens a lot in that time until the happening of another coffee culture came to Thailand and Korea rapidly. Such as shop “Starbucks” were selected as case studies with qualitative analysis methods, using the questionnaire by in-depth interviews as samples which are 40 people in Thailand divided 20 for Thai respondents and 20 for Korean respondents. The results showed that both Thailand and Korea, most of respondents have the main purpose of buying coffee from to refresh the body and drowsiness during work or study until the coffee becomes part of everyday life. While drinking coffee at the store, there are other activities such as reading or internet chatting through mobile phones. Modern and tasteful definition is that the respondents said when asked what Starbucks indicates the identity of the consumer. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์เรื่อง “ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคกาแฟพรีเมียมของคนไทยและคนเกาหลี” จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา และทำความเข้าใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริโภคกับภาพลักษณ์ของร้านกาแฟสตาร์บัคส์ ผู้วิจัยเลือกศึกษาร้านกาแฟ “สตาร์บัคส์” เนื่องจาก ร้านกาแฟ “สตาร์บัคส์” เป็นร้านกาแฟสัญชาติอเมริกันซึ่งเป็นที่ยอมรับและเป็นที่รู้จักทั่วโลก จากเอกลักษณ์ของร้านที่นำเสนอตนเองเป็นร้านกาแฟที่โดดเด่นด้วยรูปแบบการตกแต่งร้าน รสชาติกาแฟ และการบริการที่น่าประทับใจ จากการสืบค้นของผู้วิจัย การดื่มกาแฟในประเทศไทยและประเทศเกาหลีนั้น แต่เดิมเคยเป็นวัฒนธรรมของชนชั้นสูงมาก่อน ในเวลาต่อมาได้มีการแพร่หลายสู่ชนชั้นกลางไปจนถึงประชาชนคนธรรมดา ทำให้มีร้านกาแฟเกิดขึ้นมากมายในเวลานั้น จนกระทั่งมีกาแฟในอีกรูปแบบเกิดขึ้น และเข้ามาสู่สังคมไทยและเกาหลีอย่างรวดเร็ว อย่างเช่นร้านสตาร์บัคส์ที่ผู้วิจัยเลือกเป็นกรณีศึกษา โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงคุณภาพโดยใช้แบบสอบถามในการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคกาแฟสตาร์บัคส์จำนวน 40 คน แบ่งเป็นผู้บริโภคที่เป็นคนไทย 20 คน และผู้บริโภคที่เป็นคนเกาหลี 20 คน ผลการวิจัยพบว่า ทั้งไทยและเกาหลี ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์หลักของการซื้อกาแฟมาจากความต้องการเติมความต้องการเติมความสดชื่นให้ร่างกายและแก้อาการง่วงนอนระหว่างการทำงาน จนทำให้การดื่มกาแฟกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ในขณะที่ดื่มกาแฟที่ร้าน มีการทำกิจกรรมอื่นเช่น การสนทนา อ่านหนังสือ หรือเล่นอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ ความทันสมัยและมีรสนิยมคือคำนิยามที่ผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวเมื่อถามถึงสิ่งที่สตาร์บัคส์บ่งบอกตัวตนของผู้บริโภค |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Korean Studies (Inter-Disciplinary) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53341 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.325 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2012.325 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sasivimon Paisansuthidej.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.