Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53356
Title: | การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว ตามแนวเขตรอยเลื่อนสะกายตอนกลางประเทศพม่า |
Other Titles: | Seismicity rate change along the sagaing fault zone, Central Myanmar |
Authors: | สุรสาร ปัญญาทิพย์ |
Email: | ไม่มีข้อมูล |
Advisors: | สันติ ภัยหลบลี้ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | Pailoplee.S@hotmail.com |
Subjects: | รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่า เขตรอยเลื่อน เขตรอยเลื่อน -- พม่า พยากรณ์แผ่นดินไหว Faults (Geology) Faults (Geology) -- Burma Fault zones Fault zones -- Burma Earthquake prediction |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้มุ่งเน้นประเมินการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวที่มีนัยสำคัญต่อการ เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ตามมาในภายหลัง บริเวณรอยเลื่อนสะกาย ตอนกลางประเทศพม่า โดยใช้เทคนิคค่า Z ซึ่งหลังจากปรับปรุงคุณภาพฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีอยู่ พบว่าในบริเวณพื้นที่ ศึกษามีเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด > 3.5 ริกเตอร์ จำนวน 3,781 เหตุการณ์ ที่มีความสมบูรณ์ และสื่อถึงกิจกรรมแผ่นดินไหวจากธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง และเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างค่า Z และแผ่นดินไหวใหญ่ที่เกิดตามมา ผู้วิจัยได้คัดเลือกแผ่นดินไหวขนาด > 6.0 ริกเตอร์ ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตจากรอยเลื่อนสะกาย จำนวน 8 เหตุการณ์เป็นกรณีศึกษาในการปรับเทียบตัว แปรอิสระที่เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษา ผลการทดสอบบ่งชี้ว่าหากใช้ตัวแปรจำนวนแผ่นดินไหว 25 เหตุการณ์ และช่วงเวลาใน การพิจารณา 2 ปี มักจะพบค่า Z ที่สูงอย่างมีนัยสำคัญก่อนเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ดังกล่าว และจาก การประยุกต์ใช้ตัวแปรอิสระที่สรุปข้างต้นกับฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีอยู่จนถึงปัจจุบัน พบว่ารอย เลื่อนสะกายมีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว 2 พื้นที่ ได้แก่ตอนเหนือใกล้เมือง มิตจีนา (Z=8.0) และทางตอนกลางของรอยเลื่อนสะกายบริเวณเมือง เนปิดอว์ (Z=9.0) |
Other Abstract: | In this study, the seismicity rate changes implying the earthquake precursor were investigated along the Sagaing Fault (SF), Central of Myanmar using the Z-value technique. After statistical improvement of the existing seismicity data, i.e., instrumental earthquake records, it is revealed that 3,781 events of earthquake with Mw > 3.5 are represent directly the seismotectonic activities of the SF. In order to find out the characteristic parameters suitable specifically for the SF, 8 events of the Mw > 6.0 earthquakes were recognized and test retrospectively. As a result, utilizing the conditions of 25 events of considering earthquakes and 2 year time window, the significant high of Z value follow by the large earthquake. Therefore in order to evaluate the prospective areas of the upcoming earthquake, the suitable parameters mentioned above were applied with the most up-to-date seismicity data. The results illustrated that the SF along Myitkyina (Z=8.0) and Naypidaw (Z=9.0) cities might be posed by the large earthquake in the future. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53356 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1399 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.1399 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5432738623_Surasan Panyatip.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.