Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53407
Title: ศิลาวรรณนาและธรณีเคมีของหินไนส์ บริเวณแนวหินโมกก ประเทศพม่า
Other Titles: Petrography and geochemistry of gneiss along Mogok Stone Tract, Myanmar
Authors: สิริลักขณา ผาจันทร์
Email: ไม่มีข้อมูล
Advisors: จักรพันธ์ สุทธิรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: c.sutthirat@gmail.com
Subjects: ธรณีเคมี
ธรณีเคมี -- พม่า
ธรณีเคมี -- พม่า -- แนวหินโมกก
หินไนส์
หินไนส์ -- พม่า
หินไนส์ -- พม่า -- แนวหินโมกก
ศิลาวิทยา
Geochemistry
Geochemistry -- Burma
Geochemistry -- Burma -- Mogok stone tract
Petrology
Gneiss
Gneiss -- Burma
Gneiss -- Mogok stone tract (Burma)
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: พื้นที่ศึกษาตั้งอยู่บริเวณแนวหินโมกก ประเทศพม่า ซึ่งพื้นที่ศึกษามีการกระจายตัวของหิน อัคนี และหินแปร ในการศึกษาครั้งนี้สนในศึกษาเฉพาะหินแปร ประเภทหินไนส์ จากการศึกษา ลักษณะศิลาวรรณนา สามารถแบ่งหินออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ไบโอไทต์ ไนส์ และ ไบโอไทต์ -การ์เนต ไนส์ ลักษณะภายใต้กล้องจุลทรรศน์มีขนาดของผลึกแร่ตั้งแต่ 1 มิลลิเมตร ถึง 6 มิลลิเมตร โดยมีแร่ ประกอบหลักคือ แร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์ แร่ไบโอไทต์ และแร่การ์เนต และมีลักษณะเนื้อหินที่ สำคัญได้แก่ Heterogranoblastic และ Myrmekitic จากการศึกษาธรณีเคมีของหินทั้งก้อนพบว่า ประกอบด้วย 40 – 76% SiO2, 9 – 24% Al2O3, < 7% Fe2O3, < 6% K2O, < 2% CaO, < 2% Na2O, < 1% MnO, < 2% MgO, < 1% TiO2, < 0.3% P2O5 เมื่อแสดงด้วยแผนภูมิของฮาร์เกอร์ พบว่าตัวอย่างเกาะกลุ่มกัน ซึ่งแสดงถึงองค์ประกอบที่คล้ายกัน ส่วนการวิเคราะห์องค์ประกอบทาง เคมีของแร่พบว่า แร่อัลคาไลน์เฟลด์สปาร์ จัดอยู่ในกลุ่มออร์โทเคลส ส่วนแพลจิโอเคลสอยู่ในช่วง ของโอลิโกเคลส ซึ่งสัมพันธ์กับสภาวะการเกิดที่อุณหภูมิปานกลางถึงสูง และมีความดันปานกลาง จาก ACF diagram บ่งบอกถึงองค์ประกอบของหินต้นกำเนิดว่าเป็นหินตะกอนจาพวก Pelitic rock และ Quartzo-feldspathic rock หรือหินจำพวก Subgreywack และ Siliceous shale
Other Abstract: The study area is located in Mogok stone tract, Myanmar in which is geologically occupied by igneous rocks and metamorphic rocks. Rock specimens collected from the study area can be divided, based on grain size and mineral assemblage, into 2 groups including Biotite Gneiss and Biotite-Garnet Gneiss. Gneisses found in this area have various grain size (fine to medium grain) in microscopic and found heterogranoblastic texture and myrmekitic texture. Rock-forming minerals are composed of mainly quartz, feldspar, biotite and garnet. Whole-rock geochemistry of gneisses range in narrow ranges of 40 – 76%SiO2, 9 – 24% Al2O3, < 7% Fe2O3, < 6% K2O, < 2% CaO, < 2% Na2O, < 1% MnO, < 2% MgO, < 1% TiO2, <0.3% P2O5. Based on mineral chemistry, alkali feldspar are characterized by orthoclase and plagioclase feldspar are characterized by oligoclase. These indicate medium to high pressure and medium to high temperature environment of metamorphism. These geochemistry analyses, ACF diagram indicated that their protolith maybe Pelitic rock, Quartzo-feldspathic rock, subgreywack and siliceous shale.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53407
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332731023 สิริลักขณา ผาจันทร์.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.