Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53419
Title: Structural variation along highway 12, Amphoe Lom Sak, Changwat Phetchabun
Other Titles: ความหลากหลายทางโครงสร้างตามทางหลวงหมายเลข 12 อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
Authors: Kasidis Lhosupasirirat
Advisors: Sukonmeth Jithmahantakul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: sukonmeth.j@chula.ac.th
Subjects: Geomorphology
Geomorphology -- Thailand -- Phetchabun
Geomorphology -- Thailand -- Lom Sak (Phetchabun)
Geology, Structural
Geology, Structural -- Thailand -- Phetchabun
Geology, Structural -- Thailand -- Lom Sak (Phetchabun)
ธรณีสัณฐานวิทยา
ธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- เพชรบูรณ์
ธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- หล่มสัก (เพชรบูรณ์)
ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เพชรบูรณ์
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- หล่มสัก (เพชรบูรณ์)
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Highway 12 along km 327 to 347 cuts through the western margin of Phetchabun Basin, Amphoe Lom Sak, Changwat Phetchabun. The good quality outcrops shows the variation of structures were formed by Triassic to present tectonic activities. The objectives of this study are to create geological map and construct the structural evolutionary model via field investigation, geomorphology interpretation by DEM and satellite image and Digital Outcrop Model. The results found that overturned of Phu Kradung Formation that related to steep reverse faults are on the west of the study area. The middle part are dominated by normal faults associate with right-lateral strikeslip faults in Nam Phong and Lower Huai Hin Lat Formation while Upper Huai Hin Lat Formation only exposes in the eastern part of the road with normal faults. Furthermore, the structural evolutionary model can be divided into 3 stages as follows: 1) Early Triassic: the Permian carbonate rocks were deformed on the west of Indochina block 2) Late Cretaceous – Late Eocene (N-S compression): Khorat Group completely deposited then strike-slip stress with right-lateral movement caused positive and negative flower structures that create the pop-up or uplifting of the western margin of Phetchabun Basin 3) Oligocene – Present: The tectonic zone of strike-slip was inactive but dominate by erosion.
Other Abstract: ทางหลวงหมายเลข 12 (กม. 327-347) ตัดผ่านขอบแอ่งเพชรบูรณ์ฝั่งตะวันตกบริเวณอำเภอ หล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ หินโผล่ที่ปรากฎตลอดเส้นทางแสดงความหลากหลายทางธรณีวิทยา โครงสร้างที่เป็นผลจากธรณีแปรสัณฐานตั้งแต่ยุคไทรแอสซิกจนถึงปัจจุบัน จากการสำรวจภาคสนาม ร่วมกับการแปลข้อมูลภาพดาวเทียม แผนที่ชั้นความสูง และแบบจำลองหินโผล่สามมิติ พบว่า ด้านตะวันตกของพื้นที่มีหลักฐานชั้นหินตลบกลับของหมวดหินภูกระดึงร่วมกับรอยเลื่อนย้อน และ รอยเลื่อนตามแนวระดับ ตอนกลางพบรอยเลื่อนปกติเกิดร่วมกับรอยเลื่อนแนวระดับแบบขวาเข้าใน หมวดหินน้ำพอง และหมวดหินห้วยหินลาดตอนล่าง ด้านตะวันออกพบรอยเลื่อนปกติในหมวดหิน ห้วยหินลาดตอนบน โดยหมวดหินเหล่านี้วางตัวไม่ต่อเนื่องกับหินคาร์บอเนตยุคเพอร์เมียน จากผลการศึกษาสามารถแบ่งวิวัฒนาการเกิดโครงสร้างได้เป็น 3 ช่วง คือ 1) ช่วงไทรแอสซิก ตอนต้นเกิดแรงบีบอัดทำให้เกิดการคดโค้งของหินคาร์บอเนตที่สะสมตัวบนขอบด้านตะวันตกของ อนุทวีปอินโดไชนา 2) ช่วงครีเทเชียสตอนปลาย ถึง อีโอซีนตอนต้น เกิดแรงบีบอัดในแนวเหนือ-ใต้ ภายหลังจากที่หินตะกอนในกลุ่มหินโคราชสะสมตัวในพื้นที่ ทำให้เกิดรอยเลื่อนตามแนวระดับแบบ ขวาเข้า และยกขอบแอ่งเพชรบูรณ์ฝั่ง ตะวันตกขึ้นจากโครงสร้างแนวเหนือรูปดอกไม้บวกที่สัมพันธ์ กับรอยเลื่อนย้อน และโครงสร้างรูปดอกไม้ลบคู่กับรอยเลื่อนปกติ 3) โอลิโกซีน ถึงปัจจุบัน สัณนิษฐาน ว่ากระบวนการกัดกร่อนเข้ามามีบทบาทสาคัญในพื้นที่
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2016
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53419
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kasidis Lhosupasirirat.pdf8.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.