Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53484
Title: การกัดเซาะของชายฝั่งหน้าผาบริเวณบ้านฝั่งแดงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Other Titles: Erosion of cliffed coast at Ban Fang Daeng, Changwat Prachuap Khiri khan
Authors: ศุภกร เทกมล
Advisors: สุเมธ พันธุวงค์ราช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: phantuwongraj.s@gmail.com
Subjects: การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง
การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์
การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง -- ไทย -- บ้านฝั่งแดง (ประจวบคีรีขันธ์)
การสึกกร่อน
การสึกกร่อน -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์
การสึกกร่อน -- ไทย -- บ้านฝั่งแดง (ประจวบคีรีขันธ์)
ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- บ้านฝั่งแดง (ประจวบคีรีขันธ์)
Coast changes
Coast changes -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan
Coast changes -- Thailand -- Ban Fang Daeng (Prachuap Khiri Khan)
Erosion
Erosion -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan
Erosion -- Thailand -- Ban Fang Daeng (Prachuap Khiri Khan)
Geology, Structural
Geology, Structural -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan
Geology, Structural -- Thailand -- Ban Fang Daeng (Prachuap Khiri Khan)
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งของประเทศไทยประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทำ ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทำทางธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นกระแสน้ำชายฝั่ง คลื่นลมพายุมรสุมประจำฤดู หรือ การ กระทำของมนุษย์ที่ทำให้เกิดความเสียหายบริเวณชายฝั่ง ซึ่งพื้นที่ศึกษาบริเวณบ้านฝั่งแดงจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์มีลักษณะเป็นชายฝั่งหน้าผาของชั้นหินทรายสลับชั้นกรวดมน ในปัจจุบันบริเวณหน้าผาชายฝั่ง พบร่องรอยของการถล่มของชั้นตะกอนพบกองหินที่เกิดจากการถล่มจำนวนมาก การปริแตกที่ผิวของชั้น ตะกอนในแนวดิ่งและร่องรอยการกัดเซาะที่ฐานของหน้าผาจากปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ทำให้ผู้วิจัยต้องการศึกษา ลักษณะการกัดเซาะที่เกิดขึ้นเพื่อหารูปแบบความสัมพันธ์ของการกัดเซาะกับลักษณะวิทยาหิน (lithology) และลักษณะการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งในพื้นที่เพื่อให้รู้และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จากการศึกษาจากการออกภาคสนามโดยทำการข้อมูลวิทยาของหินและโครงสร้างทางธรณีวิทยาและ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งด้วยเทคนิคซ้อนทับ (Overlay)โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศในช่วงปี พ.ศ. 2509 - 2560 จากการศึกษาสามารถแบ่งลักษณะของธรณีสัณฐานที่เกิดจากการกัดเซาะได้ 6 บริเวณดังนี้ 1).ลักษณะการถล่มของชั้นดิน 2).ลักษณะชายฝั่งที่ถูกควบคุมด้วยโครงสร้างทางธรณีวิทยาแสดงลักษณะเป็นชายฝั่งเว้าแหว่ง 3).ลักษณะที่มีกระบวนการของรอยเลื่อนและกระบวนการแปรสภาพ (Alteration) 4).ลักษณะวิทยาของหินเป็นชั้นที่เป็นพวกตะกอน ละเอียด แสดงลักษณะการกัดเซาะในแนวดิ่งจากน้ำฝน 5).ลักษณะการหล่นของหินที่เกิดจากการกัดเซาะในแนวราบ6).ลักษณะของชั้นศิลาแลง และจากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งชายฝั่งหน้าผาบ้านฝั่งแดงแสดงลักษณะการกัดเซาะอย่างเนื่องโดย พบว่าบริเวณที่มีการกัดเซาะสูงได้แก่บริเวณที่ 2 และ 3 ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าปัจจัยที่มีผลอย่างมากต่อการกัด เซาะคือโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ประกอบไปด้วย รอยแตก ระบบรอยแตก และ รอยเลื่อน ซึ่งทำให้เกิด ลักษณะโครงสร้างไม่ต่อเนื่องในเนื้อหินมีผลต่อค่าความทนทานในเนื้อหินซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการกัดเซาะของ ชายฝั่งหน้าผาบ้านฝั่งแดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Other Abstract: In present costal area of Thailand were suffered from the coastal ersion problem which resulted from natural processes (strong wave, strome surge and longshore current), and human activity (construction at the coast). The study area ,Ban Fang Daeng PRACHUAP KHIRI KHAN province is characterized as a cliffed coast which consist of red bed sandstone and conglomerate sandstone include sand bed and gravel bed. Along the cliff, evidences of coastal erosion such as notch, sea cave, sea stack, wave-cut platefrom, and rock fall were exhibited through the area.So.researcher interesting in the controlling factor of cliff erosion in this area which may result from the lithology and structure of the rock at Fang Daeng cliffed coast. This study will investigate the lithology and structure of rock at cliffed coast and relative changing of geomorphology of cliffe at Ban Fang Daeng for learn and understand this problem. Form the results of study by lithology and stucture data. From the filed From the filed and result of coastline change from years 1966-2017 by remote sensing interpretation, the cliffed coast can be divided into 6 zone base on the different erosional geomprphology. 1) land slide 2) indented coast 3) Fault zone and Alterlation country rock 4) fine-grined sediment shows vertical erosion by precipitation 5) rock fall 6) laterlite layer .From remote sensing interpretation, this cliffed coast characterized as erosional coastline which the highest area of erosion rate are at zone 2 and zone 3. As zone 2 and 3 were characterized as idented coast and fault, which result from fracture joint and fult therefore, the major factors that control the erosion of this cliffed coast is structure and discontinuity of rock. Structure is fracture, joint and fault. Because structure is discontinues of rock. It reduce strength of rock, which is facter of erosion
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53484
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supakorn Takamol.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.