Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเมธ พันธุวงค์ราช-
dc.contributor.authorจิรวัฒน์ ดีหมื่นไวย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialประจวบคีรีขันธ์-
dc.date.accessioned2017-10-19T10:03:33Z-
dc.date.available2017-10-19T10:03:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53562-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านประเทศไทยในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือน กุมภาพันธ์ ส่งผลให้ภาคใต้บริเวณชายฝั่งด้านตะวันออก (อ่าวไทย) เกิดฝนตกชุกและคลื่นทะเลมี ความรุนแรงเป็นประจำทุกปี ซึ่งคลื่นทะเลกำลังแรงในช่วงฤดูมรสุมนี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ สภาพภูมิประเทศชายฝั่งทะเลเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการกัดเซาะชายฝั่ง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายหาด วิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพและองค์ประกอบของตะกอน และเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของคลื่นซัด ฝั่งจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีจุด ศึกษา 3 แห่ง การเก็บข้อมูลภาคสนามประกอบด้วย การวัดระดับชายหาดเพื่อศึกษาการ เปลี่ยนแปลงของชายหาด และการเก็บตัวอย่างตะกอนพื้นผิวชายหาดเพื่อวิเคราะห์สมบัติทาง กายภาพและองค์ประกอบของตะกอน โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังคลื่น กำลังแรงจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการศึกษาเปรียบเทียบก่อนและหลังคลื่นกำลังแรงจากลมมรสุมพบว่าพื้นที่ชายฝั่งทั้ง 3 จุดศึกษาแสดงลักษณะของความลาดชันและระดับความสูงของแนวสันทรายแตกต่างกันโดยพบ การกัดเซาะในแนวดิ่งดังนี้้ บริเวณหน้าหาดนมสาว 10-30 เซนติเมตร บริเวณเขาแดง 10-40 เซนติเมตร และบริเวณเขาขวาง 10-80 เซนติเมตร ลักษณะของตะกอนชายฝั่งหลังคลื่นกำลังแรง พบว่ามีทั้งเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ขึ้น และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงขึ้นกับแต่ละบริเวณศึกษา และ ค่าเฉลี่ยองค์ประกอบทางแร่ของตะกอนมีความใกล้เคียงกันคือประกอบด้วยแร่ควอร์ซ 75% โดย ระดับความรุนแรงคลื่นซัดฝั่งพบว่ามีความสัมพันธ์กับระดับความลาดชันของชายฝั่งทะเลen_US
dc.description.abstractalternativeNortheast (NE) monsoon during October to February normally cause the heavy rainfall in Southern part of Thailand, mostly around the eastern coast (Gulf of Thailand). Furthermore, the strong wind from NE monsoon commonly generates the destructive waves which resulting in coastal erosion and coastal topography change. The objective of this study is to investigate the effect of destructive waves impact to coastline by observes coastal topography and analyze physical sedimentary properties and mineral composition. Field studies were carried out before and after the event of destructive waves generated by NE monsoon. Beach profiling and sediment sampling were done in 3 study area at Amphoe Sam Roi Yod. The result from beach profile measurement from 3 areas found that beach topography were change after the NE monsoon period, both in horizontal and vertical distance. At Nom Sao Beach, 1st area, vertical erosion ranging from 10-30 centimeter was observed. At Kao Dang Beach, 2nd area, vertical erosion was exhibited ranging from 10- 40 meter. At Kao Kwang Beach, 3rd area, vertical erosion about 10-80 centimeter was recognized. Mean grain size value of surface sediment were change from medium sand size increasing to coarse sand size. Sediment compositions are mainly composed of quartz about 75%. Finally, the degree of beach damage from destructive wave is related to slope of beach topography.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1419-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคลื่นen_US
dc.subjectคลื่นมหาสมุทร -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectมรสุม -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่ง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.subjectOcean waves -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectMonsoons -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectCoast changes -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.subjectCoastal geomorphology -- Thailand -- Prachuap Khiri Khanen_US
dc.titleผลกระทบของคลื่นกำลังแรงช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณชายฝั่งทะเลอำเภอสำมร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeEffects of destructive waves during northeast monsoon season along the coast in Amphoe Sam Roi Yod, Changwat Prachuap Khiri Khanen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsukonmeth.j@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1419-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432704223_JIRAWAT DEEMUENWAI.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.