Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53609
Title: | ศิลาวรรณนาและสภาพแวดล้อมการสะสมตัวโบราณของหินคาร์บอเนตบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง |
Other Titles: | Petrography and paleoenvironment of carbonate rock, northeast of Amphoe Mae Tha, Changwat Lampang |
Authors: | ธนัญญา โพชสาลี |
Advisors: | ฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | thasineec@gmail.com |
Subjects: | ศิลาวิทยา -- ไทย -- ลำปาง หินปูน -- ไทย -- ลำปาง หินคาร์บอเนต -- ไทย -- ลำปาง Petrology -- Thailand -- Lampang Limestone -- Thailand -- Lampang Carbonate rocks -- Thailand -- Lampang |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศิลาวรรณนาและสภาพแวดล้อมการตกสะสมตัว โบราณของหินคาร์บอเนต บริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ในการ สำรวจภาคสนามได้มีการเก็บตัวอย่าง 16 จุดศึกษา รวมทั้งสิ้น 29 ตัวอย่าง เพื่อนำมาศึกษาศิลา วรรณนาภายใต้กล้องจุลทรรศน์โพลาไรซ์ จากข้อมูลพบว่าบริเวณพื้นที่ศึกษาประกอบไปด้วยหินปูนในหมวดหินพระธาตุและหมวดหิน ผาก้าน กลุ่มหินลำปาง และเป็นที่ตั้งของหินแบบฉบับในหมวดหินพระธาตุ ซึ่งหมวดหินดังกล่าวถูกตั้ง ชื่อตามชื่อของวัดพระธาตุดอยม่วงคา มีอายุอยู่ในยุคไทรแอสซิก จากการศึกษาศิลาวรรณนาสามารถจำแนกหินปูนตามการจำแนกของ Wright (1992) เป็น wackestone, packstone และ bioclastic packstone พบว่าหินปูนบริเวณพื้นที่ศึกษาแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มหินปูนที่มีอายุ Changhsingian ในยุคเพอร์เมียนตอนปลาย พบซากดึกดา บรรพ์ของฟอแรมินิเฟอรา Palaeofusulina sp., Climacammina sp. และ Reichelina pulchra จัดอยู่ในหมวดหินห้วยทาก กลุ่มหินงาว และกลุ่มหินปูนที่มีอายุ Late Anisian ในยุคไทรแอสซิก ตอนกลาง พบซากดึกดาบรรพ์ของฟอแรมินิเฟอรา Triadodiscus eomesozoicus และ Pilammina densa จัดอยู่ในหมวดหินผาก้าน กลุ่มหินลำปาง จากการพบออนคอยด์ เพลลอยด์ และไมโครเบียล แสดงถึงสภาพแวดล้อมการตกสะสมตัวอยู่บริเวณลากูน |
Other Abstract: | The aim of this work is to study on petrography and paleoenvironment of carbonate rock exposed in northeast of Amphoe Mae Tha, Changwat Lampang. Sixteen exposures have been studied and 29 samples were collected in order to study petrography and determinate carbonate rock in the study area. The study area includes the Phra That Formation and the Pha Kan Formation. This area is the type section of the Phra That Formation. The types of carbonate rock contain wackestone, packstone and bioclastic packstone. Two groups of foraminifers were classified in this study area. The first group is composed of Palaeofusulina sp. , Climacammina sp. , Reichelina pulchra indicating Changhsingian and belong to the Huai Thak Formation. The second group contains Triadodiscus eomesozoicus, Pilammina densa indicating Late Anisian which belongs to the Pha Kan Formation. Oncoids, peloids and microbials were mainly found in the study area. They were common in shallow platform interiors where was a protected shallow-marine environment or lagoon. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53609 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanunya Pochsalee.pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.