Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54831
Title: ศิลาวรรณนาหินอัคนี บริเวณพื้นที่ด้านตะวันออกของ อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
Other Titles: Petrography of lgneous rocks at Eastern part of Amphoe Phai Sali, Changwat Nakhon sawan
Authors: เจตนา สารทอสี
Advisors: สมชาย นาคะผดุงรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: หินอัคนี
หินอัคนี -- ไทย
หินอัคนี -- ไทย -- นครสวรรค์
หินอัคนี -- ไทย -- ไพศาลี (นครสวรรค์)
ศิลาวิทยา
ศิลาวิทยา -- ไทย
ศิลาวิทยา -- ไทย -- นครสวรรค์
ศิลาวิทยา -- ไทย -- ไพศาลี (นครสวรรค์)
การสำรวจทางธรณีวิทยา
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- นครสวรรค์
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- ไพศาลี (นครสวรรค์)
Igneous rocks
Igneous rocks -- Thailand
Igneous rocks -- Thailand -- Nakhon Sawan
Igneous rocks -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan)
Petrology
Petrology -- Thailand
Petrology -- Thailand -- Nakhon Sawan
Petrology -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan)
Geological surveys
Geological surveys -- Thailand
Geological surveys -- Thailand -- Nakhon Sawan
Geological surveys -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan)
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาหินอัคนี บริเวณด้านทิศตะวันออกของอำเภอไพศาลี จังหวัด นครสวรรค์ เนื่องจากเป็นพื้นที่ออกภาคสนามเพื่อทำแผนที่ธรณีวิทยา ในรายวิชาธรณีสนาม 2 ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551 และพื้นที่ดังกล่าวมีหินอัคนีหลากหลายชนิด ทั้งหินอัคนีบาดาล หินตะกอนภูเขาไฟ และหินอัคนีภูเขาไฟ ผลจากการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนาม สามารถสรุปได้ว่าหินที่พบในพื้นที่ประกอบด้วย หินแกรนิต หินบะซอลต์ หินแอนดีไซด์ หินไรโอไรท์ หินแอนดิซิติกทัฟฟ์ หินไรโอริติกทัฟฟ์ หินได โอไรท์ หินสการ์น และหินมาร์เบิล ในด้านความสัมพันธ์ของหินในพื้นที่ ในเบื้องต้นสามารถ ลำดับอายุจากแก่ไปอ่อนได้โดย หินอ่อนและหินสการ์น หินตะกอนภูเขาไฟ หินอัคนีบาดาล และ หินภูเขาไฟ ตามลำดับ จากการศึกษาจากแผ่นหินบาง และการหาปริมาณแร่จากแผ่นหินขัดเรียบ และนำไปพลอตใน Q-A-P DIAGRAM of Plutonic Rocks ของ Steckeisen(1976) ได้ชื่อหินได้แก่ หินอัลคาไลน์-เฟลสปาร์ ซายีไนท์, หินซายีไนท์, หินมอนโซไนท์, หินควอตซ์มอนโซไนท์, หิน ควอตซ์ไดออไรท์ และ หินไดออไรท์ และเมื่อทำการศึกษาด้วยกล้องโพลาไรซิ่ง ไมโครสโคปพบว่ามีลักษณะ texture ปรากฏ อาทิ Micrographic texture , Granophyric texture , Spherulitic texture , Graphic texture , Intrafasiculate texture , trachytic texture และ Plagioclase sphelurite หินอัคนีบริเวณนี้จัดเป็น I-type granite ( Chapple and White,1974) โดยพบหิน หลากหลายชนิด แต่คาดว่าจะมาจากกระเปาะแม็กมาเดียวกัน
Other Abstract: Igneous rocks around eastern part of amphoe Phai Sali area , Changwat Nakhon Sawan was studies this is due the fact that it was a field 2009 . In addition , there are many varieties of igneous rocks i.e. plutonic , volcanic and pyroclastic rocks According to field geology , petrography and modal analysis , igneous rocks in the study area consist of basalt , rhyolite , andesite, rhyolitic tuff, andesitic tuff , diorite , Alkaline-feldspar syenite , Syenite , Quartz monzonite , monzonite , marble and skarn rock. Relative age of the rocks from oldest to the youngest are the follow : marble and skarn rock , pyroclastic rocks , plutonic rocks , basalt. Distinguished igneous texture are trachytic , graphic, micrographic and granophyric. This may indicate that pyroclastic , volcanic and plutonic came from the same magma chamber. They should classified igneous rocks in this area as I-type granites as suggested by Chapple and White (1974) and Pitcher (1983)
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54831
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jattana_fullreport.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.