Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55784
Title: การหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติของแสงกับปริมาณไอน้ำในบรรยากาศ ณ สถานีวิจัยในบรรยากาศ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือนธันวาคม 2548 - พฤษภาคม 2549
Other Titles: Relationship between optical properties and water vapor in the atmosphere at the observatory for atmospheric research, Amphoe Phimai, Changwat Nakhon Ratchasima during December 2005 - May 2006
Authors: เชลียาห์ วันเมษบาลสถิต
Email: boossara@geo.sc.chula.ac.th
Advisors: บุศราศิริ ธนะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ไอน้ำในบรรยากาศ
ไอน้ำในบรรยากาศ -- ไทย
ไอน้ำในบรรยากาศ -- ไทย -- นครราชสีมา
ไอน้ำในบรรยากาศ -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา)
ไอน้ำในบรรยากาศ -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา) -- 2548-2549
การดูดกลืนแสง
การดูดกลืนแสง -- ไทย
การดูดกลืนแสง -- ไทย -- นครราชสีมา
การดูดกลืนแสง -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา)
การดูดกลืนแสง -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา) -- 2548-2549
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ -- ไทย
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ -- ไทย -- นครราชสีมา
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา)
การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ -- ไทย -- พิมาย (นครราชสีมา) -- 2548-2549
Water vapor, Atmospheric
Water vapor, Atmospheric -- Thailand
Water vapor, Atmospheric -- Thailand -- Nakhon Ratchasima
Water vapor, Atmospheric -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima)
Water vapor, Atmospheric -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima) -- 2005-2006
Light absorption
Light absorption -- Thailand
Light absorption -- Thailand -- Nakhon Ratchasima
Light absorption -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima)
Light absorption -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima) -- 2005-2006
Solar radiation
Solar radiation -- Thailand
Solar radiation -- Thailand -- Nakhon Ratchasima
Solar radiation -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima)
Solar radiation -- Thailand -- Phimai (Nakhon Ratchasima) -- 2005-2006
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ไอน้ำในบรรยากาศมีบทบาทสำคัญต่อสมดุลพลังงานของรังสีแสงอาทิตย์ เนื่องจากไอ น้ำเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีปริมาณการดูดกลืนรังสีมากที่สุด รังสีแสงอาทิตย์และน้ำเป็นตัวกำ หนดสภาพอากาศ และมีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ ทำการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณไอน้ำเฉลี่ยและปริมาณน้ำฝนสะสมในบรรยากาศ เพื่ออธิบาย ลักษณะของสภาพอากาศในฤดูกาลที่แตกต่างกัน โดยใช้ข้อมูลไอน้ำจากเครื่องไมโครเวฟ เรดิโอ มิเตอร์ ณ สถานีวิจัยในบรรยากาศ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือนธันวาคม 2548 ถึงเดือนพฤษภาคม 2549 และใช้ข้อมูลน้ำฝนจากกรมอุตุนิยมวิทยาในช่วงเวลาเดียวกัน ต่อมา พิจารณาเลือกข้อมูลไอน้ำในบรรยากาศ ที่มีปริมาณน้อยและมากจนก่อให้เกิดฝนตก และวิเคราะห์ รังสีกระจายและรังสีตรงในวันดังกล่าว จากนั้นศึกษาคุณสมบัติการกระเจิงและดูดกลืนของแสงโดย ใช้ค่า Single Scattering Albedo (SSA) จากเครื่องไอสกายเรดิโอมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 1020 นา โนเมตรซึ่งเป็นช่วงการดูดกลืนของหยาดน้ำ ฟ้าในเมฆ ณ สถานีวิจัยในบรรยากาศ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือน มกราคม ถึงเดือนพฤษภาคม 2549 เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง ค่า SSA กับปริมาณไอน้ำ ผลการวิเคราะห์พบว่า ในช่วงวันก่อนเกิดฝนตกปริมาณไอน้ำเพิ่มขึ้นแต่ ค่า SSA น้อยลง
Other Abstract: Water vapor play important rule effecting on energy budget in the atmosphere due to water vapor is the most influencial green house gass. Solar radiation and water determine weather and climate on earth, also result in geological change. This study has investigated distribution of amount of water vapor and rainfall to differential season. By using microwave radiometer of measuring water vapor at the observatory for atmospheric research Amphoe Phimai, Changwat Nakhon Ratchasima during December 2005 to May 2006. Rainfall information cooperated from Thai meteorological department in the similar period. Consider diffuse and direct radiation from the selected date of water vapor is among dry air and moist air. Then analyze optical propoties of scattering and absorption radiation which is described by single scattering albedo (SSA) derived from i-sky radiometer at the observatory for atmospheric research Amphoe Phimai, Changwat Nakhon Ratchasima during January 2006 to May 2006, based on 1020 nanometre wavelength specified cloud droplets, and prove the relationship between SSA and water vapor. Results show that the amount of water vapor reverse variation to SSA on cloudy day.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55784
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sheliya_full report.pdf992.91 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.