Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์นภา หวนสุริยา-
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorกิตติพงษ์ อินทราพงษ์-
dc.contributor.authorพิชญุตม์ จุลศักดิ์ศรี-
dc.contributor.authorธนากร เรืองเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2017-11-27T09:55:33Z-
dc.date.available2017-11-27T09:55:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56365-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015en_US
dc.description.abstractจุดประสงค์ของการทำงานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นกิจวัตรในงาน แรงจูงใจภายใน บรรยากาศที่เอื้อให้เกิดนวัตกรรมในองค์กร และความคิดสร้างสรรค์ โดยศึกษาอิทธิพลของระดับความเป็นกิจวัตรในงานที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ โดยมีแรงจูงใจภายในเป็นตัวส่งผ่านและมีบรรยากาศที่เอื้อต่อนวัตกรรมเป็นตัวแปรกำกับอิทธิพล กลุ่มตัวอย่างคือพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครจำนวนทั้งสิ้น 232 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดความเป็นกิจวัตรในงาน มาตรวัดแรงจูงใจภายใน มาตรวัดบรรยากาศที่เอื้อให้เกิดนวัตกรรมในองค์กร และมาตรวัดความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ Conditional Process Model พบอิทธิพลของความเป็นกิจวัตรในงานที่มีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ โดยถูกส่งผ่านแรงจูงใจภายในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (อิทธิพลทางอ้อม, β = -.33; p < .01) โดยแรงจูงใจในงานมีอิทธิพลส่งผ่านโดยสมบูรณ์ (full mediation) กล่าวคือ เมื่อพนักงานรับรู้ว่างานที่ทำมีความเป็นกิจวัตรสูง ก็มักมีแรงจูงในภายในลดลง และแรงจูงใจภายในที่ลดลงนั้นก็ส่งผลให้ความคิดสร้างสรรค์ลดลง ส่วนบรรยากาศที่เอื้อให้เกิดนวัตกรรมนั้น ไม่มีผลกำกับอิทธิพลของความเป็นกิจวัตรในงาน ต่อความคิดสร้างสรรค์ และอิทธิพลของแรงจูงใจภายในต่อความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the effect of task routine on creativity and the mediating effect of intrinsic motivation and moderating effects of climate for innovation. Data were collected from 232 employees of private organizations in Bangkok. Participants responded to the measures of perceived task routine, intrinsic motivation, climate for innovation, and employee creativity. Data analysis was conducted using conditional process model. The findings confirmed the hypothesis that intrinsic motivation fully mediated the relationship between task routine and employee creativity (Indirect Effect, β = -.33; p < .01) such that participants who perceived that their task was highly routinized also tend to have lower intrinsic motivation and then lower creativity. On the other hand, climate for innovation did not have significant moderating effect either on the relationship between task routine and employee creativity, or on the relationship between intrinsic motivation and employee creativity. The Implications of the findings for improving employee creativity are discussed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectจิตวิทยาองค์การen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.subjectMotivation (Psychology)en_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.titleการทำนายความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานด้วยระดับความเป็นกิจวัตรของงานโดยมีแรงจูงใจภายในเป็นตัวแปรส่งผ่านและบรรยากาศที่เอื้อให้เกิดนวัตกรรมภายในองค์การเป็นตัวแปรกำกับen_US
dc.title.alternativePREDICTING EMPLOYEE CREATIVITY BY TASK ROUTINE WITH INTRINSIC MOTIVATION AS A MEDIATOR AND CLIMATE FOR INNOVATION AS A MODERATORen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorThipnapa.H@chula.ac.th-
dc.email.advisorsakkapat.N@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittiphong_In.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.