Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56777
Title: | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลการเชื่อมและค่าแรงดึงในการเชื่อมสตัดแบบใช้การดิสชาร์จจากตัวเก็บประจุและการออกแบบระบบการเชื่อมที่มีความสมดุล |
Other Titles: | Study of relationship between welding balance and tensile strength of capacitor discharge stud welding and design of welding system with welding balance |
Authors: | ชินภัทร อิงคะประดิษฐ์ |
Advisors: | ธารา ชลปราณี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Tara.C@chula.ac.th |
Subjects: | งานเชื่อมไฟฟ้า ตัวเก็บประจุไฟฟ้า Electric welding Capacitors |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เสนอการออกแบบและสร้างอุปกรณ์การเชื่อมสตัดแบบใช้การดิสชาร์จจากตัวเก็บประจุ วงจรสวิชตช์คุมกระแสที่มีตัวควบคุมแบบฮิตเตอรีซิสถูกนำมาใช้เป็นวงจรชาร์จตัวเก็บประจุ วงจรเรียงกระแสควบคุมเฟสภาคอินเวอร์เตอร์ถูกนำมาใช้เป็นวงจรลดระดับแรงดัน ไมโครคอนโทรลเลอร์แบบมีตัวแปลงสัญญาณแอนาลอกเป็นดิจิตอลภายใน ถูกนำมาเป็นตัวควบคุมการทำงานของแหล่งจ่ายไฟ เป็นผลให้ระบบสามารถทำงานที่มีความซับซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมคีวามสามารถในการรับค่าและแสดงผล แหล่งจ่ายไฟที่ถูกออกแบบสามารถชาร์จตัวเก็บประจุขนาด 80,000 F ตั้งแต่แรงดัน 0-170 โวลต์โดยใช้ระยะเวลา 3, 4 วินาที ใช้กระแสไฟสลับขาเข้า 3.5 แอมแปร์ ความผิดพลาดในการควบคุมแรงดันอยู่ในช่วง +2% การลดระดับแรงดันโดยวงจรเรียงกระแสควบคุมเฟสจาก 170 โวลต์ใช้เวลา 11 วินาที การคืนพลังงานโดยการตั้งค่ากระแสคืนพลังงาน 4 แอมแปร์ ใช้เวลาการค้นพลังงาน 4 วินาที การทดลองการเชื่อมสตัดโดยใช้สกัดเกลียวอลูมิเนียมขนาด M6 อุปกรณ์ที่ทำการออกแบบสามารถเชื่อมสลักเกลียว โดยที่รอยเชื่อมมีความแข็งแรงเฉลี่ย 4,400 นิวตัน สำหรับกรณีแรงดันตกคร่อมตัวเก็บประจุ 170 โวลต์ ความสมดุลของรอยเชื่อมถูกทดสอบโดยการเปรียบเทียบมุมเอียงของสลักเกลียวกับค่าแรงดึงรอยเชื่อม จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า มุกการเชื่อมสามารถเอียงได้ตั้งแต่ -11.09 องศาเซลเซียส ถึง +8.91 องศาเซลเซียส ที่การปรับความยาวขาปืนเชื่อมสตัด -5 ม.ม. ถึง +8.91 องศาเซลเซียส ที่การปรับความยาวขาปืนเชื่อมสตัด -5 ม.ม. ถึง + 4 ม.ม. |
Other Abstract: | This thesis presents a design and construction of capacitor discharge stud welding equipment. A current-control circuit with hystersis controller is used as a capacitor charging circuit. Phase-controlled rectifier working is inverter mode is used as a decreasing voltage circuit. Microcontroller with internal A/D converter is used as a power supply controller. As a result, the designed system can deal with complicated job in the future and has input and display ability. The designed power supply can charge 80,000 F-capacitor. Charging capacitor from OV to 170V takes 3.4 seconds with input AC current of 3.5 A. Voltage control error is within +2%. It takes 11 seconds to reduce capacitor voltage from 170V to 50V by using phase-control rectifier. Energy recovery to AC source lasts 4 seconds when recovery current is 4 A. In the experiment of stud welding with M6 aluminum stud, welded studs have average tensile strength 90f 4.400 N for the case of capacitor voltage 170V. Welding balance is tested by comparison of stud inclining angle and average tensile strength. Test results show that welded studs can incline between -11.09 degree Celsius and +8.91 degree Celsius, with adjustable pistol foot distance between +5 mm. and +4 mm. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56777 |
ISBN: | 9741430019 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chinnaphat_in_front.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_ch1.pdf | 371.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_ch2.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_ch3.pdf | 4.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_ch4.pdf | 4.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_ch5.pdf | 354.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chinnaphat_in_back.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.