Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5685
Title: | Etude de l'espace dans "Le Chien Jaune" de Georges Simenon |
Other Titles: | การศึกษามิติสถานที่ในนวนิยายเรื่อง "เลอ เชียง โฌน" ของ ฌอร์ฌ ซิมนง |
Authors: | Penlak Wongchongchaiharn |
Advisors: | Walaya Wiwatsorn |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
Advisor's Email: | No information provided |
Subjects: | Simenon, Georges, 1903-. Le Chien Jaune French fiction -- History and criticism |
Issue Date: | 2000 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Cette recherche est consacree a etudier linguistiquement et litterairement la presentativite de l'espace, l'espace romanesque lui-meme et sa fonction sur le personnage et sur l'intrigue dans un roman intitule Le Chien Jaune de Georges Simenon. Nous remarquons que Simenon s'interesse a l'espace plutot qu'a l'intrigue. Les milieus se montrent par le narrateur "on" et le personnage "il" qui les observent. Formees par le regard-descripteur, les images spatiales se presentent comme des peintures impressionnistes et cubistes de Paul Cezanne tandis que le travailleur-descripteur cree l'espace d'une maniere cinematographique. En ce qui concerne l'espace proprement dit, Simenon cree la ville au bord de la mer. Elle ressemble a une ile dont toutes les cotes donnent sur la mer. Certains milieux sont reconstitues par l'effet de reel de la carte de France comme par exemple les sables blance et concarneau en bretagne. Les autres sont artificiellement batis comme par exemple le cafe qui fait partie de l'hotel, la maison inhabitee, la prison et les maisons des personnages, etc. L'espace a de l'influence sur le personnage et sur l'intrigue. Pour le personnage coupable, Simenon presente sa culpabilite dans ses traits physiques et psychiques voire dans son habitat interieur. A l'egard de l'intrigue, l'espace determine le comportement du detective, du criminel et de la victime qui set de retour pour s'en venger. |
Other Abstract: | ศึกษาเชิงภาษาศาสตร์และเชิงวรรณคดีเกี่ยวกับการนำเสนอสถานที่ ภาพของสถานที่และหน้าที่ของสถานที่ต่อตัวละคร และโครงเรื่องในนวนิยายเรื่อง "เลอ เชียง โฌน" หรือ "หมาเหลือง" ของ ฌอร์ฌ ซิมนง ผลการวิจัยพบว่า ซิมนงให้ความสนใจในสถานที่มากกว่าโครงเรื่อง มิติสถานที่ถูกนำเสนอผ่านสายตาของผู้เล่าและตัวละครเอกเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากภาพของสถานที่เกิดจากผู้บรรยายโดยการมองขณะหยุดนิ่งชั่วขณะ ภาพจึงมีลักษณะของภาพวาดแบบอิมเพรสชั่นนิสและแบบคิวบิสของปอล เซซาน ในขณะที่ภาพของสถานที่ที่ผู้บรรยายแสดงกริยาเคลื่อนไหว จะเหมือนภาพจากเทคนิคการถ่ายภาพยนตร์ ในส่วนที่เกี่ยวกับสถานที่ ซิมนงใช้พื้นที่ริมทะเลเพื่อสร้างเมือง เมืองในนวนิยายเรื่องนี้จึงมีลักษณะเป็นเกาะ คือ มีชายฝั่งทุกด้านติดทะเล สถานที่บางแห่งมีอยู่จริงในแผนที่ของประเทศฝรั่งเศส เช่น เลส์ ซาบ บลองค์และเมืองกงการ์โนในแคว้นเบรอตาญ บางแห่งเป็นสถานที่ที่ถูกเขียนขึ้นตามความเหมาะสม เช่น โรงแรมที่มีร้านกาแฟ บ้านร้าง ห้องขังและบ้านของตัวละคร เป็นต้น สถานที่มีอิทธิพลต่อตัวละครและโครงเรื่อง ในด้านตัวละคร ซิมนงเสนอกายภาพและจิตใจของอาชญากรทางสีหน้าท่าทาง การแต่งตัวและลักษณะของที่อยู่อาศัย ส่วนในด้านโครงเรื่อง สถานที่กำหนด พฤติกรรมของนักสืบ อาชญากร และเหยื่อผู้กลับมาแก้แค้นอาชญากร |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2000 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | French |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5685 |
ISBN: | 9743462619 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Penlak.pdf | 735.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.