Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57068
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร | - |
dc.contributor.author | ทิชากร จิรัฐิติเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2018-02-16T05:00:41Z | - |
dc.date.available | 2018-02-16T05:00:41Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57068 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกนัดพบเร็วของวัยรุ่นหญิง โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงอายุ 17 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนสหศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 619 คน กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม 1: วัยรุ่นที่ออกนัดพบไม่เร็ว และกลุ่ม 2: วัยรุ่นหญิงที่ออกนัดพบเร็ว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นข้อมูลทั่วไป และส่วนที่ 2 เป็นแบบวัดการรับรู้การทำหน้าที่ของครอบครัว แบบวัดการรับรู้บรรทัดฐานกลุ่มเพื่อน แบบวัดอิทธิพลของสื่อ แบบวัดการเห็นคุณค่าของตนเองสำหรับนักเรียน แบบวัดการรับรู้การควบคุมดูแลของพ่อแม่ แบบวัดการรับรู้รูปร่างหน้าตาของตนเองและคู่นัดพบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ สถิติการจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ผลการวิจัยพบว่ามีตัวแปร 8 ตัวที่มีอำนาจจำแนกวัยรุ่นหญิงทั้ง 2 กลุ่มออกจากกันได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Wilks' Lambda = .76, p < .001) และสามารถจำแนกได้ถูกต้องร้อยละ 72.7 ดังนี้ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มวัยรุ่นหญิงที่ออกนัดพบไม่เร็ว และกลุ่มวัยรุ่นหญิงที่ออกนัดพบเร็ว พบว่า กลุ่มวัยรุ่นหญิงที่ออกนัดพบเร็ว จะมีผลการเรียนต่ำกว่า มีการรับรู้บรรทัดฐานของกลุ่มเพื่อนสูงกว่า มีเครือข่ายกลุ่มเพื่อนมากกว่า มีการรับรู้รูปร่างหน้าตาของตนเองดีกว่า มีพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตกับเพศตรงข้ามมากกว่า ได้รายรับโดยเฉลี่ยในแต่ละวันมากกว่า มีแนวโน้มที่จะมีพ่อแม่แยกกันอยู่ และมีพี่น้องที่มีประวัติเคยออกนัดพบ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research study was to examine factors that were related to early dating behavior of female adolescents. The participants were 17-year-old, 619 female adolescents from high schools in Bangkok and Metropolitans. They were classified into 2 groups: the non-early dating group and the early dating group. The questionnaires were divided into two parts: the first part included questions about participants' personal information. The second part included the questionnaires regarding family functioning, peer norms, mass media influences, self-esteem, parental monitoring, and physical attractiveness. Data were analyzed by using Discriminant Analysis. Results indicated that 8 variables helped categorize the participants into 2 groups (Wilks' Lambda = .76, P < .001) and yielded predictive efficiency of 72.7%. Finding from the analysis were as follows: When compares the non-early dating group and the early dating group, the early dating participants reported lower academic achievement, higher perceived peer norms, higher peer network, higher perceived self attractiveness, higher online in the chat room, higher amount income per day, trend to have separated parents and have dating sibling. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1029 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การนัดพบ | en_US |
dc.subject | จิตวิทยาวัยรุ่น | en_US |
dc.subject | วัยรุ่น -- พฤติกรรมทางเพศ | en_US |
dc.subject | วัยรุ่นหญิง -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | วัยรุ่นหญิง -- พฤติกรรมทางเพศ | en_US |
dc.subject | Dating (Social customs) | en_US |
dc.subject | Adolescent psychology | en_US |
dc.subject | Adolescence -- Sexual behavior | en_US |
dc.subject | Teenage girls -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Teenage girls -- Sexual behavior | en_US |
dc.title | ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกนัดพบเร็วของวัยรุ่นหญิง | en_US |
dc.title.alternative | Selected factors related to early dating behavior of female adolescents | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาพัฒนาการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1029 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
tichakom_ji_front.pdf | 985.41 kB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_ch1.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_ch2.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_ch3.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_ch4.pdf | 984.1 kB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_ch5.pdf | 430.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
tichakom_ji_back.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.