Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57929
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประพิมพา จรัลรัตนกุล | - |
dc.contributor.author | วรารี สุขจดิษฐ์ | - |
dc.contributor.author | อารยา ดิษฐสำภู | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2018-03-26T03:36:02Z | - |
dc.date.available | 2018-03-26T03:36:02Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57929 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการปั้นงานและความเพลินในงาน โดยมีความสอดคล้องระหว่างคนกับงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ พนักงานจำนวน 203 คน จากหลากหลายองค์กรในประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ มาตรวัดความเพลินในงาน มาตรวัดความสอดคล้องระหว่างคนกับงาน และมาตรวัดการปั้นงาน จากการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านโดยโปรแกรม PROCESS Procedure for SPSS ผลการศึกษาพบว่า: การปั้นงานทั้ง 4 รูปแบบ (การเพิ่มทรัพยากรในงานด้านโครงสร้าง, การลดข้อเรียกร้องที่ขัดขวางการทำงาน, การเพิ่มทรัพยากรในงานด้านสังคม และการเพิ่มข้อเรียกร้องด้านความท้าทาย) มีอิทธิพลทางบวกต่อความสอดคล้องระหว่างคนกับงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 การปั้นงานทั้ง 4 รูปแบบ มีอิทธิพลทางบวกต่อความเพลินในงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ความสอดคล้องระหว่างคนกับงานมีอิทธิพลทางบวกกับการเกิดความเพลินในงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ความสอดคล้องระหว่างคนกับงานเป็นตัวแปรส่งผ่านอิทธิพลของการปั้นงานทั้ง 4 รูปแบบไปยังความเพลินในงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the relationships between job crafting and flow at work with person-job fit as a mediator. The research participants consisted of 203 employees from various organizations in Thailand. The participants completed a series of questionnaires: the work-related flow inventory, person-job fit scale and job crafting scale. The mediation analyses were examined by using PROCESS Procedure for SPSS. The results showed that: All forms of job crafting (increasing structural job resources, decreasing hindering job demands, increasing social job resources and increasing challenging job demands) significantly predicted person-job fit (p < .001), and flow at work (p < .001). Person-job fit significantly predicted flow at work (p < .001). The mediations effect of person-job fit was found (p < .001). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การทำงาน -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | Work -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Job satisfaction -- Psychological aspects | en_US |
dc.subject | Quality of work life -- Psychological aspects | en_US |
dc.title | การปั้นงาน และความเพลินในงาน โดยมีความสอดคล้องระหว่างคนกับงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน | en_US |
dc.title.alternative | Job crafting and flow at work: the mediating effect of person-job fit | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Prapimpa.J@chula.ac.th,prapimpa.j@gmail.com | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wararee_so.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.