Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพิมพา จรัลรัตนกุล-
dc.contributor.authorพัชรวุฒิ สุภาคง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:41:04Z-
dc.date.available2018-04-11T01:41:04Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58408-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมรับน้องใหม่ (แบบสร้างสรรค์ และไม่สร้างสรรค์) กับความกลมเกลียวในกลุ่มและความผูกพันด้านจิตใจต่อคณะภายในมหาวิทยาลัย โดยมีการระบุตัวตนทางสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นิสิต/นักศึกษา ระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยในประเทศไทย จำนวน 331 คน ผลจากการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ด้วยโปรแกรม LISREL Version 9.30 (Jöreskog & Sörbom, 2017) พบว่า กิจกรรมรับน้องใหม่แบบสร้างสรรค์มีอิทธิพลทางตรงทางบวกต่อความกลมเกลียวในกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในขณะที่ไม่พบอิทธิพลทางตรงของกิจกรรมรับน้องใหม่แบบไม่สร้างสรรค์ต่อความกลมเกลียวในกลุ่ม ผลจากการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านพบว่า การระบุตัวตนทางสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมรับน้องใหม่แบบสร้างสรรค์และความกลมเกลียวในกลุ่ม และเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบสมบูรณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมรับน้องใหม่แบบสร้างสรรค์และความผูกพันด้านจิตใจต่อคณะ นอกจากนี้ยังพบประเด็นที่น่าสนใจคือ กิจกรรมรับน้องใหม่แบบไม่สร้างสรรค์มีอิทธิพลทางบวกต่อการระบุตัวตนทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในขณะที่ไม่พบอิทธิพลทางตรงของกิจกรรมรับน้องใหม่ทั้งแบบสร้างสรรค์และไม่สร้างสรรค์ต่อความผูกพันด้านจิตใจต่อคณะ แต่พบอิทธิพลส่งผ่านแบบสมบูรณ์ของการระบุตัวตนทางสังคมต่อความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมรับน้องใหม่แบบไม่สร้างสรรค์กับความกลมเกลียวในกลุ่มและความผูกพันด้านจิตใจต่อคณะ-
dc.description.abstractalternativeThis research examined the relationship of universities’ initiations (constructive and destructive) with group cohesion and affective commitment toward university faculty among Thai students, with a mediating role of social identification. Three hundred and thirty-one undergraduate students from various Thai universities participated in the current study. The results from the analysis of Structural Equation Modeling (SEM) using LISREL Version 9.30 (Jöreskog & Sörbom, 2017) revealed that the constructive-initiation-activity (CIA) had a positive direct effect on students’ group cohesion at p < .01. In contrary, the destructive-initiation-activity (DIA) had no direct effect on group cohesion. Moreover, we found that the social identification was a significant partial mediator of the relationship between CIA and group cohesion, and was a significant full mediator of the relationship between CIA and affective commitment. Surprisingly, DIA had a significant positive effect on social identification at p < .01. While both CIA and DIA had no significant direct effect on affective commitment. Nevertheless, a full mediating effect of social identification was found for the relationship of DIA with group cohesion and affective commitment toward university faculty.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.809-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกิจกรรมของนักศึกษา-
dc.subjectความผูกพัน-
dc.subjectStudent activities-
dc.subjectCommitment (Psychology)-
dc.titleอิทธิพลของรูปแบบการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ต่อความกลมเกลียวในกลุ่มนักศึกษาและความผูกพันกับคณะ : การวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านการระบุตัวตนทางสังคม-
dc.title.alternativeInfluence of Thai university initiations on students’ cohesion and affective commitment toward university faculty : a mediating role of social identification-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPrapimpa.J@chula.ac.th,prapimpa.j@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.809-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5877619438.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.