Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58750
Title: Bronze statues made from the lost wax casting technique and their meaning in contemporary Thailand : a case study of the bronze foundry of the Fine Arts Department in Salaya, Nakhon Pathom
Other Titles: รูปหล่อสำริดจากเทคนิคการสำรอกขี้ผึ้งและความหมายในสังคมไทยปัจจุบัน : กรณีศึกษาโรงหล่อรูปสำริด กรมศิลปากร ศาลายา จังหวัดนครปฐม
Authors: Pradhan, Mangala
Advisors: Sunait Chutintaranond
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: Sunait.C@Chula.ac.th
Subjects: Bronze age
Bronze castings -- Thailand
Precision casting
Bronze sculpture -- Social aspects -- Thailand
ยุคสัมฤทธิ์
ทองสัมฤทธิ์ -- การหล่อ
การหล่อประณีต -- ไทย
ประติมากรรมสัมฤทธิ์ -- แง่สังคม -- ไทย
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Bronze statues have been a vital part of Thai culture over the past number of centuries. The process of making these statues has evolved over time and moreover, these statues have always been very prominent within the Thai community. This thesis attempts to understand and study the beliefs behind making bronze statues of Thai elites. More importantly, this thesis attempts to document the process and differentiate traditional techniques of bronze casting with the contemporary method of bronze casting. As the bronze statues of past kings and monarchs are also worshiped by the majority of local people in Thailand, the spiritual dimension of making such statues are also considered. This thesis studies the popularization of contemporary lost wax process and reasons behind its popularity. Likewise, the popularization of making bronze statues of Thai elites and heroic figures nationally and individually; and whether it is the reason of the deep rooted eastern culture or specially the deep rooted Thai belief in ancestral worship, faith on Monarchy, Buddhism, Hinduism, and animism, that imparts the public display of such figures which ultimately ends up as a cult object and places of pilgrimage, veneration and to show gratitude for the normal Thai people. The thesis attempts to make inventory and document the process of contemporary and traditional bronze casting technique. Traditional bronze casting technique has its own aesthetic and technical value. Although bronze statues manufactured from the contemporary bronze casting technique lacks its value compared to the bronze made from traditional technique, the reason of popularization of the contemporary lost wax process is the easy available modern material and equipment as well as the modern way of making art objects.
Other Abstract: รูปหล่อสำริดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมไทยมานานหลายศตวรรษ กระบวนการสร้างรูปหล่อสำริดมีพัฒนาการมาโดยตลอด และมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทย วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาและทำความเข้าใจคติความเชื่อในการสร้างรูปหล่อสำริดของชนชั้นนำไทย และที่สำคัญยิ่งไปกว่านั้นยังมุ่งที่จะบันทึกกระบวนการและอธิบายความแตกต่างระหว่าง กรรมวิธีการหล่อสำริดที่มีมาแต่ดั้งเดิมกับวิธีการหล่อสำริดแบบสมัยใหม่ และด้วยเหตุที่คนไทยส่วนใหญ่ล้วนให้ความเคารพสักการะพระรูปหล่อสำริดของพระมหากษัตริย์ คติความเชื่อในการสร้างพระรูปเหล่านี้จึงน่าสนใจที่จะศึกษาด้วย วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาความนิยมในการใช้กรรมวิธีการหล่อสำริดแบบสำรอกขี้ผึ้ง และเหตุที่กรรมวิธีดังกล่าวได้รับความนิยม พร้อมทั้งศึกษาความนิยมในการสร้างรูปหล่อของชนชั้นนำไทยพระวีรกษัตริย์ ตลอดจนบุคคลที่ได้รับยกย่องต่างๆ ทั้งในระดับชาติและระดับบุคคล และพิจารณาคติในการสร้างว่าเป็นเพราะวัฒนธรรมตะวันออกที่มีมาช้านาน หรือเป็นเพราะคติการบูชาบรรพบุรุษที่เป็นรากเหง้าของสังคมไทย หรือเป็นเพราะความศรัทธาที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ พุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูและความเชื่อดั้งเดิม ที่ทำให้มีการตั้งหรือประดิษฐานรูปและพระรูปเหล่านั้นไว้ตามที่สาธารณะต่างๆ และทำให้ผู้คนนิยมมาสักการะบูชาเพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตา วิทยานิพนธ์นี้ยังมุ่งที่จะจดบันทึกกระบวนการหล่อสำริดแบบสมัยใหม่ และกรรมวิธีการหล่อสำริดแบบดั้งเดิม กรรมวิธีการหล่อสำริดแบบดั้งเดิมมีคุณค่าด้านความงาม และสะท้อนให้เห็นความสามารถในเชิงช่างของไทย แม้ว่ารูปหล่อสำริดที่สร้างขึ้นด้วยกรรมวิธีการหล่อแบบสมัยใหม่ ดูจะมีคุณค่าน้อยกว่าเมื่อเทียบกับรูปหล่อที่สร้างขึ้นตามวิธีการดั้งเดิม แต่เหตุที่การหล่อสำรอกขี้ผึ้งแบบสมัยใหม่ได้รับความนิยมมากกว่า ก็เป็นเพราะวัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่หาได้ง่าย รวมทั้งการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามแนวทางสมัยใหม่
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Thai Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58750
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1913
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.1913
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pradhan_Ma.pdf23.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.