Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62053
Title: | Petrography and geochemistry of granitic rocks at Chon Daen and bueng Sam Phan districts, Phetchabun province |
Other Titles: | ศิลาวรรณนาและธรณีเคมีของกลุ่มหินแกรนิต บริเวณอำเภอชนแดนและบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ |
Authors: | Kritanol Naewboonnien |
Advisors: | Pitsanupong Kanjanapayont Abhisit Salam |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Advisor's Email: | Pitsanupong.K@Chula.ac.th Abhisit.A@chula.ac.th |
Subjects: | Granite -- Thailand -- Phetchabun Petrology -- Thailand -- Phetchabun Geochemistry -- Thailand -- Phetchabun หินแกรนิต -- ไทย -- เพชรบูรณ์ ศิลาวิทยา -- ไทย -- เพชรบูรณ์ ธรณีเคมี -- ไทย -- เพชรบูรณ์ |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study is aimed to investigate the petrography and geochemistry of granitic rocks at Chon Daen and Bueng Sam Phan districts, Phetchabun province. Moreover, the explanation and classification of tectonic setting which related to the occurrence of the granitic rocks are considered. There are 3 locations in the study. The first location is in Dongkui sub-district, Chon Daen district, Phetchabun province. The second and third locations are in Phaya Wang sub-district, Bueng Sam Phan district, Phetchabun province. The distance between second location and third location is approximately 5 kilometers. According to the study results, the granitic rocks at Chon Daen district can be classified into granite, and Bueng Sam Phan granitic rocks can be classified into diorite and quartz diorite. The geochemical result from X-Ray fluorescence spectrometry showed the variation of major oxides content in each rock unit. Granite has higher amount of SiO2 when compared with diorite and quartz diorite. Nevertheless, it contains lower amount of CaO, FeOtotal and MgO compared with Bueng Sam Phan granitic rocks. The alkali oxides (Na2O and K2O) amount are slightly different. Based on the discussion of petrogenesis and tectonic setting, these rock units are geochemically metaluminous originated in Calc-Alkaline to high-K Calc-Alkaline magma series. These qualities are matched with the volcanic arc magmatism. Furthermore, the geochemical evidence indicates these rock units as an I-type affinity. To summarize, these granitic rocks have occurred by the eastward subduction of Paleo-Tethys under Indochina terrane. |
Other Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางศิลาวรรณนา และธรณีเคมีของกลุ่มหินแกรนิต บริเวณอำเภอชนแดน และบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ รวมไปถึงการอธิบายและจำแนกประเภทของลักษณะทางธรณีแปรสัณฐานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดกลุ่มหินดังกล่าว การศึกษานี้มีพื้นที่ศึกษาทั้งหมด 3 จุดศึกษา จุดแรกตั้งอยู่ ณ ตำบลดงขุย อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ จุดที่สองและสามนั้นตั้งอยู่ ณ ตำบลพญาวัง อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมีระยะทางระหว่างจุดศึกษาที่สองและสามประมาณ 5 กิโลเมตร จากการศึกษาพบว่า หินบริเวณจุดศึกษาแรก จุดศึกษาที่สอง และจุดศึกษาที่สาม สามารถจำแนกได้เป็น หินแกรนิต หินไดออไรต์ และหินควอตซ์ไดออไรต์ ตามลาดับ จากผลทางธรณีเคมีที่ได้มาจากเครื่องเอกซเรย์ฟลูออเรสเซนส์ พบว่าปริมาณของสารประกอบออกไซด์ในหินแต่ละบริเวณนั้นมีค่าแตกต่างกันออกไป โดยหินแกรนิตจะมีปริมาณซิลิกอนไดออกไซด์ที่สูงกว่าหินไดออไรต์และหินควอตซ์ไดออไรต์ แต่กลับมีปริมาณแคลเซียมออกไซด์ เหล็กออกไซด์ และแมกนีเซียมออกไซด์ที่ต่ากว่า ส่วนปริมาณแอลคาไลน์ออกไซด์ เช่น โซเดียมออกไซด์ และโพแทสเซียมออกไซด์นั้นมีค่าที่ใกล้เคียงกัน จากการอภิปรายการกาเนิดศิลา และลักษณะทางธรณีแปรสัณฐานพบว่า หินทั้งสามจุดศึกษานั้นมีองค์ประกอบทางเคมีแบบเมทอลูมินัส และมีต้นกาเนิดมาจากหินหนืดแบบแคลก์-แอลคาไลน์ ไปจนถึงแบบแคลก์-แอลคาไลน์ที่มีโพแทสเซียมสูง ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะทางธรณีแปรสัณฐานแบบแนวคดโค้งภูเขาไฟ นอกจากนั้น ผลทางธรณีเคมียังระบุว่าหินทั้งสามจุดศึกษามีองค์ประกอบแบบหินแกรนิตชนิด I ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่ากลุ่มหินทั้งหมดเกิดจากการมุดตัวของแผ่นมหาสมุทรบรรพกาลในทิศตะวันออกไปสู่แผ่นจุล-ทวีปอินโดจีน |
Description: | A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2017 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62053 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Senior_project_Kritanol Naewboonnien.pdf | 1.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.