Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62682
Title: | การพัฒนาโปรแกรมย่อยควบคุมอุปกรณ์แสดงภาษาไทย สำหรับระบบยูนิกซ์ในรอว์โหมด |
Other Titles: | Development of Thai device driver for UNIX system in raw mode |
Authors: | วิภา เสรีสิทธิพิทักษ์ |
Advisors: | ยรรยง เต็งอำนวย |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | ยูนิกซ์ (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) ภาษาไทย -- ตัวอักษร การรู้จำอักขระ (คอมพิวเตอร์) คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัล Unix (Computer operating system) Thai language -- Alphabet Character recognition Computer terminals |
Issue Date: | 2533 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | โปรแกรมย่อยควบคุมภาษาไทยนี้เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นในระดับโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เพื่อทำหน้าที่รับและแสดงการจัดระดับของตัวอักขระภาษาไทยบนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ที่ไม่สามารถรับข้อมูลภาษาไทย หรือบนจอภาพที่ไม่สามารถแสดงตัวอักขระภาษาไทย เช่น วีที 220 ซึ่งสามารถจัดแบบ 1 2 3 4 ระดับ และสำหรับออกเครื่องพิมพ์ โดยทำงานในลักษณะการขัดจังหวะจากสัญญาณ SIGIO เพื่อใช้ในการควบคุมการไหลของข้อมูล นอกจากนี้ยังเลียนแบบหน้าที่ของการทำงานของโปรแกรมย่อยควบคุมเทอร์มินัลเฉพาะที่จำเป็นต่อการใช้งานเมื่อเทอร์มินัลอยู่ในสภาวะคาโนนิคัลโหมด ผลของการวิจัยนั้นสามารถแสดงแฟ้มข้อมูลที่มีตัวอักขระภาษาไทยบนเทอร์มินัล วีที 220 ที่กำลังใช้งานอยู่หรือบนเทอร์มินัลของผู้ใช้อื่น และบนไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีการเรียกใช้โปรแกรมเลียนแบบ |
Other Abstract: | This [T]hai driver program is developed in application level on BSD UNIX operating system to receive and display level of [T]hai characters on UNIX that cannot work with [T]hai characters or terminal that has no function to display [T]hai characters such as VT220. The driver can display in 1, 2, 3, 4 level and also output for printing. This is done by using the signal SIGIO to control flow of data. Moreover it [imitates] same essential the functions of terminal driver that are used when the terminal is in canonical mode. The [T]hai driver can display data file that contains [T]hai characters on working VT220 terminal or on another terminal and on micro computer using emulator program. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62682 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vipa_sa_front.pdf | 2.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_ch1.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_ch2.pdf | 3.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_ch3.pdf | 4.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_ch4.pdf | 6.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_ch5.pdf | 769.16 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipa_sa_back.pdf | 534.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.