Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6289
Title: การศึกษาแบบจำลองจุดบกพร่องของฉนวนในเครื่องจักรกลหมุนโดยการทดสอบการปล่อยประจุบางส่วน
Other Titles: Study on insulation defect models in rotating machine using partial discharge test
Authors: ศุภวัตร น้าประเสริฐ
Advisors: สมบูรณ์ จงชัยกิจ
คมสัน เพ็ชรรักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: feescc@kankrow.eng.chula.ac.th
Komson.P@chula.ac.th
Subjects: ดิสชาร์จบางส่วน
ประจุไฟฟ้า
ฉนวนไฟฟ้า
เครื่องจักรกล
วัสดุและอุปกรณ์ไฟฟ้า -- การทดสอบ
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการศึกษาแบบจำลองจุดบกพร่องของฉนวนในเครื่องจักรกลหมุนโดยการทดสอบการปล่อยประจุบางส่วน โดยการทำแบบจำลองเพื่อจำลองจุดบกพร่องในขดลวดสเตเตอร์ แบบจำลองที่ทำขึ้นเพื่อการทดสอบมี 3 ประเภท คือแบบจำลองที่ไม่มีจุดบกพร่อง แบบจำลองจุดบกพร่องบริเวณสล็อต และแบบจำลองจุดบกพร่องบริเวณส่วนพ้นร่อง การวิเคราะห์ผลเพื่อจำแนกประเภทจุดบกพร่องของแบบจำลองแต่ละประเภทนั้น สามารถทำโดยการวิเคราะห์รูปแบบการกระจายข้อมูลแบบสามมิติ Hn(Phi,q) การกระจายข้อมูลแบบสองมิติ Hqmax(Phi) Hqn(Phi) Hn(Phi) H(q) และ H(p) และการวิเคราะห์ผลการแสดงสัญญาณบนฐานเวลาแบบเชิงเส้นด้วยตา และการวิเคราะห์ด้วยค่าพารามิเตอร์ทางสถิติ เพื่อเปรียบเทียบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของค่าพารามิเตอร์เมื่อทำให้เกิดจุด บกพร่องขึ้น ผลการทดสอบพบว่าการวิเคราะห์รูปแบบการการะจายข้อมูลแบบต่างๆด้วยตา และการวิเคราะห์ด้วยค่าพารามิเตอร์ทางสถิติสามารถใช้จำแนกแบบจำลองแต่ละประเภทได้เป็นอย่างดี
Other Abstract: This thesis is a study of insulation defect models in rotating machine using partial discharge test. Three kinds of stator bar defect models which are perfect stator bars model, slot defect stator bars model and endwinding defect stator bars model were made for testing. Each kind of defect model was classified by the difference of three dimensions distribution of Hn(Phi,q) ,two dimensions distribution of Hqmax(Phi), Hqn(Phi), Hn(Phi),H(q) and H(p) and visual inspection of the difference between signal displays in linear time scale. Statistical values were also calculated in order to compare the trend of those parameters after each defect stator bars model were simulated. The test result showed that the statistical parameters can be used as a tool to classify each defect bar model and also each defect bar model can be distinguished by its pattern distribution.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6289
ISBN: 9741751214
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supawat.pdf5.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.