Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์-
dc.contributor.advisorสิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ-
dc.contributor.authorขวัญตา ทรัพย์สินบูรณะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:16:30Z-
dc.date.available2019-09-14T02:16:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62961-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินแนวคิดของสจ๊วต ชาปิโรเรื่องโครงสร้างนิยมแบบเอนเท่ เร็มของจำนวน ซึ่งเป็นแนวคิดที่พยายามตอบปัญหาสำคัญทางอภิปรัชญาและญาณวิทยาเกี่ยวกับสถานะความมีอยู่และการเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับวัตถุทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือจำนวน สำหรับประเด็นทางอภิปรัชญานั้น ชาปิโรได้เสนอมุมมองตำแหน่งสองประเภท ได้แก่ มุมมองตำแหน่งเป็นออฟฟิศ และมุมมองตำแหน่งเป็นวัตถุ รวมทั้งภววิทยาแบบองค์รวม ซึ่งดีกว่าแนวคิดที่ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นอย่างแนวคิดของเบนาเซอร์ราฟ แนวคิดสัจนิยมแบบดั้งเดิมของเพลโต และแนวคิดโครงสร้างนิยมแบบอื่น ได้แก่ แนวคิดของพาร์สันส์ ส่วนในประเด็นทางญาณวิทยาเกี่ยวกับความรู้เรื่องโครงสร้าง ชาปิโรได้เสนอแนวคิดการเข้าถึงแบบองค์รวม ซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างมูลฐานนิยมแบบลดทอนกับญาณวิทยาเชิงธรรมชาติ และได้แบ่งการเข้าถึงโครงสร้างออกเป็นสามลำดับขั้น ได้แก่ การตระหนักรู้ถึงรูปแบบและการสกัดออกมา การคาดคะเนล่วงหน้า และการนิยามโดยปริยาย โดยชาปิโรมีเหตุผลสนับสนุนที่สำคัญคือ การสรุปอ้างอิงถึงการอธิบายที่ดีที่สุด มีข้อโต้แย้งสองประการต่อแนวคิดของชาปิโร ได้แก่ ปัญหาเอกลักษณ์ของการไม่สามารถแยกแยะได้ ซึ่งเสนอโดยเบอร์เจส เฮลล์แมน และเคราเนน และปัญหาการเข้าถึงความรู้ ซึ่งเสนอโดยแมคไบรด์ ชาปิโรพยายามตอบข้อโต้แย้งในทุกประเด็น อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะยังไม่ประสบผลสำเร็จในการตอบปัญหาบางประเด็น แต่เมื่อเปรียบเทียบกับบางแนวคิดที่จัดเป็นโครงสร้างนิยมเหมือนกันอย่างแนวคิดของพาร์สันส์ แนวคิดของชาปิโรน่ายอมรับได้มากกว่า ดังนั้น แนวคิดของชาปิโรจึงยังคงเป็นแนวคิดหนึ่งที่เราสามารถยอมรับได้-
dc.description.abstractalternativeThe aims of this thesis are to study and to evaluate the view of Stewart Shapiro on the ante rem structuralism of numbers. This notion attempts to answer the important issues on the ontology and the epistemology: the status of the existence and the access to the knowledge of mathematical objects, especially on numbers. On the ontology side, Shapiro proposes 1) two-place perspectives: place-are-offices perspective and place-are-objects perspective and 2) holism ontology. This view is better than other views such as Benacerraf's view, traditional Platonism and other views of structuralism like Parsons' view. On the epistemology side about the knowledge of structures, Shapiro proposes the holism access which is the halfway between reductive foundationalism and naturalized epistemology. His access to structures has three levels: pattern recognition and abstraction, projection and implicit definition. Additionally, the important justification of Shapiro's view is the inference to the best explanation. There are two objections for Shapiro's view. The first objection is the problem of Identity of Indiscernibles proposed by Burgess, Hellman and Keranen. The second one is the access problem proposed by MacBride. Although Shapiro is unable to answer some questions, his view is more acceptable than Parsons' view, which is also structuralism. Therefore, Shapiro's view is still the one notion that we can accept.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.940-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectชาปิโร, สจ๊วต, 2494- -- การวิจารณ์และการตีความ-
dc.subjectมโนทัศน์เชิงจำนวนเลข-
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- ปรัชญา-
dc.subjectShapiro, Stewart, 1951- -- Criticism and interpretation-
dc.subjectNumber concept-
dc.subjectMathematics -- Philosophy-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleแนวคิดของสจ๊วต ชาปิโรเรื่องโครงสร้างนิยมแบบเอนเท่ เร็มของจำนวน-
dc.title.alternativeStewart Shapiro on the ante rem structuralism of numbers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineปรัชญา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSoraj.H@Chula.ac.th-
dc.email.advisorsiriphen.p@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.940-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5880107822.pdf834.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.