Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย อัศวลาภสกุล-
dc.contributor.authorณัฐนรี แตงเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-01T05:36:07Z-
dc.date.available2020-04-01T05:36:07Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64582-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractพลาสติกเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้แทนวัสดุธรรมชาติ และใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก พลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเรตพบเห็นได้มากในชีวิตประจำวัน เช่น ขวดบรรจุน้ำดื่ม ขวดบรรจุน้ำอัดลม ในแต่ละปีมีอัตราการผลิตและใช้พลาสติกชนิดนี้สูงมาก หลังจากการใช้พลาสติกเหล่านี้ถูกทิ้งและสะสมในสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีการค้นพบแบคทีเรีย Ideonella sakaiensis ที่สามารถผลิตเอนไซม์ PETase เพื่อย่อยสลายพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเรต เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตได้ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะคัดแยกแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเรตได้ จากผลการทดลองสามารถคัดแยกแบคทีเรียได้ 8 ไอโซเลทและนำไปวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ 165 rDNA และเมื่อนำไอโซเลทดังกล่าวมาเลี้ยงร่วมกับพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเรตเป็นเวลา 7 วัน จากนั้นนำพลาสติกดังกล่าวไปวิเคราะห์โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) พบว่ามีเพียง 3 ไอโซเลท คือ S3, S4 และ S7 ที่สามารถสังเกตเห็นผิวของพลาสติกดังกล่าวมีร่องรอยการถูกย่อยสลายเมื่อเทียบกับชุดพลาสติกควบคุม ซึ่งแบคทีเรีย 3 ไอโซเลทนั้น พบว่า S3 และ S4 มีความใกล้เคียงกับ Pseudogulbenkiania sp. NS25 และ S7 มีความใกล้เคียงกับ Nocardioides panaciterrae.en_US
dc.description.abstractalternativePlastics are organic compounds that are synthesized to replace natural materials and widely used in various industries around the world. Poly (ethylene terephthalate) / PET can be seen in everyday life such as bottles and carbonated bottles. The rate of production and use of this type of plastic is rising every year. They will be disgarded and accumulated in environment after use. There is a discovery of Ideonella sakaiensis bacteria that can produce PET hydrolase (PETase) to degrade PET as a carbon source for growth. The aim of this project is to isolate the PET degrading bacteria. The results showed that eight isolated bacteria could be found and then analyzed by 16S rDNA sequencing. The isolate bacteria were cultivated with poly (ethylene terephthalate) for 7 days and then the incubated plastic was analyzed by using Scanning Electron Microscope (SEM). As the degrading appearance, only 3 isolates which are S3, S4 and S7 could degrade the surface of the plastic compared to the plastic control. The three isolated bacteria could be identified as Pseudogulbenkiania sp. NS25 for S3 and S4 and Nocardioides panaciterrae for S7.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการคัดแยกแบคทีเรียที่มีความสามารถในการย่อยสลายพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเรตen_US
dc.title.alternativeScreening of Poly(ethylene terephthalate)/PET degrading bacteriaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorWanchai.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natnaree T_Se_2561.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.