Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorกัลยาณี เกษเมธีการุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-02T17:44:25Z-
dc.date.available2020-05-02T17:44:25Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.issn9741746598-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65654-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงความเป็นไปได้ของการใช้ระบบอีจีเอสบีร่วมกับถังกรองชีวภาพสำหรับบำบัดน้ำเสียสะพานปลาที่มีค่าซีโอดีและไนโตรเจนที่สูง รวมทั้งมีความเค็ม โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ช่วง คือช่วงแรกจะทำการศึกษาประสิทธิภาพของระบบอีจีเอสบี เมื่อมีการเปลี่ยนค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์เป็น 6, 9 และ 12 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน โดยกำหนดความเร็วไหลขึ้นในถังปฏิกรณ์ 3 ค่า คือ 3, 5 และ 7 ม./ชม. และในช่วงที่ 2 ทำการศึกษาระบบถังกรองชีวภาพที่มีการเปลี่ยนอัตราส่วนช่วงแอนนอกซิกเท่ากับ 1 : 1 และ 2 : 1 เมื่อต่อเข้ากับระบบอีจีเอสบีที่เลือกค่าที่เหมาะสมจากช่วงแรก น้ำเสียที่ใช้ในงานวิจัยเป็นน้ำเสียจริงจากสะพานปลา จ.สมุทรสาคร โดยควบคุมค่าซีโอดีของน้ำเสียที่ป้อนเข้าระบบประมาณ 3000 มก./ล. มีอัตราป้อนน้ำเสียเข้าเท่ากบ 4, 6 แล 8 ล./วัน ที่ภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 6,9 และ 12 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน ตามลำดับ ผลการทดลองช่วงแรก พบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดชีโอดีเฉลี่ยของระบบอีจีเอสบีอยู่ในช่วง 80 - 95 % ประสิทธิภาพการกำจัดบีโอดีเฉลี่ย 84 - 95 % และประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ย 53 - 63 % โดยที่ ประสิทธิภาพของระบบอีจีเอลบีจะแปรตามความเร็วไหลขึ้นในถังปฏิกรณ์ แต่ที่ค่าความเร็วไหลขึ้นที่สูงส่งผลต่อการขยายตัวของชั้นตะกอนในถังปฏิกรณ์ ซึ่งทำให้เม็ดตะกอนจุลินทรีย์มีโอกาสหลุดออกจากระบบได้ง่าย เมื่อพิจารณา แล้วจึงเลือกใช้ค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์12 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน และความเร็วไหลขึ้นที่ 3 ม./ซม.สำหรับการทดลองช่วงที่ 2 ผลการทดลองช่วงที่ 2 พบว่า ระบบถังกรองชีวภาพจะรับภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.9 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน เวลากัก 16 ชม. โดยกำหนดอัตราส่วนการเวียนน้ำสำหรับถังกรองชีวภาพเท่ากับ 200% ที่อัตราส่วนช่วงแอนนอกซิกต่อออกซิกเท่ากับ 1 : 1 และ 2 : 1 ระบบถังกรองชีวภาพมีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี และบีโอดีเท่ากัน คือ 86% และ 93% ตามลำดับ ประสิทธิภาพการกำจัดไนโตรเจนรวม 37% และที่อัตราส่วนช่วงแอนนอกซิกต่ออกซิกเท่ากับ 2 : 1 มีประสิทธิภพการกำจัดไนโตรเจนรวม 45% ดังนั้นระบบอีจีเอสบี - ถังกรองชีวภาพ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการบำบัดน้ำเสียสะพานปลา โดยมีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีรวมสูงถึง 97% ประสิทธิภาพการกำจัดบีโอดีรวม 99% ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งแขวนลอยรวม 88% และประสิทธิภาพการกำจัดไนโตรเจนร่วม 48%-
dc.description.abstractalternativeThis research was studied for the feasibility to use EGSB - Biofilter for the treatment system, COD, and high concentrate nitrogen with salinity of Fish Pier wastewater. There was consisted of two experiments. The first experiment studied of EGSB efficiency for removal of COD, BOD and suspended solid by the comparison of organic loading at 6, 9 and 12 kg.COD/m3-day at the condition of upflow velocity to 3, 5 and 7 m./hr. The second experiment studied of the ratio of anoxic : oxic was 1 : 1 and 2 : 1 of Biofilter when connected to the appropriated value from the first experiment of EGSB. This Fish Pier wastewater was from the Fish Pier wastewater in Samutrsakorn Province that had COD control with frow rate about 3000 mg./l. The average of feed flow rate was 4, 6 and 8 l./day at organic loading 6, 9 and 12 kg.COD/m3-day, respectively. The first experiment indicated of the EGSB system efficiency of COD removal about 80 - 95 %, BOD removal about 84 - 85 % and suspended solid removal about 53 - 63 %. The efficiency of EGSB was dependened on the upflow velocity. However the high upflow velocity bring to extension of sludge bed and wash out of granule sludge. This research used the organic loading at 12 kg.COD/m3-day and upflow velocity was 3 m./hr. in the second experiment. The second experiment indicated the organic loading at 0.9 kg.COD/m3-day and retention times at 16 hr. for the Biofilter system, set recirculate at 200 % for the ratio of anoxic : oxic was 1 : 1 and 2:1. The efficiency of COD and BOD removal was 86 % and 93 %, respectively, efficiency of suspended solid removal was 72 - 75 %. Total nitrogen removal was 37 % at the ratio of anoxic : oxic was 1:1, while the ratio of anoxic : oxic was 2 : 1 had efficiency of total nitrogen removal was 45 % Therefore, EGSB - Biofilter system was the good choice of Fish Pier wastewater treatment with performance in over all terms of COD removal at 97 %, BOD removal at 99 %, suspended solid removal was 88 % and total nitrogen removal 48 %.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัดen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen_US
dc.subjectสะพานปลาen_US
dc.subjectSewage -- Purificationen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Biological treatmenten_US
dc.subjectFish pieren_US
dc.titleการพัฒนาระบบอีจีเอสบี-ถังกรองชีวภาพสำหรับการบำบัดน้ำเสียสะพานปลาen_US
dc.title.alternativeDevelopment of EGSB-biofilter system for treatment of fish pier wastewateren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChavalit.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanlayanee_ke_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ912.75 kBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_ch1_p.pdfบทที่ 1639.13 kBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_ch2_p.pdfบทที่ 22.06 MBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_ch3_p.pdfบทที่ 3991.07 kBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_ch4_p.pdfบทที่ 44.65 MBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_ch5_p.pdfบทที่ 5624.26 kBAdobe PDFView/Open
Kanlayanee_ke_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.