Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65824
Title: Do it yourself music : its role as a subculture in Thai popular music
Other Titles: ดนตรีทำเอง บทบาทของการเป็นวัฒนธรรมย่อยในดนตรีกระแสนิยมไทย
Authors: Manond Apanich
Advisors: Sunait Chutintaranond
Vira Somboon
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: Sunait.C@Chula.ac.th
Vira.So@Chula.ac.th
Subjects: Popular music -- Thailand
Subculture -- Thailand
ดนตรีสมัยนิยม -- ไทย
วัฒนธรรมย่อย -- ไทย
เพลงไทยสากล -- ประวัติ
วัฒนธรรมไทย
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This thesis will explore and analyze the workings of popular culture, its process of inception into a culture and its relevance and functions in a culture. In the chapters that follow I trace and bring to light the value of modem music in Bangkok by first describing the climate and overall context that modern pop music is being created and wallows in. From there an analysis how underground or unpopular music is influential to the development of popular music and also even see why and how today’s underground music sounds the way it does and what it all means. Theoretical concepts of subculture will mostly follow concepts from Dick Hebdige's book. Subculture: the Meaning of Style (1979) and David Muggleton’s Inside Subculture: the Postmodern Meaning of Style (2000), an updated rendition of Hebdige’s work on music subcultures with revised concepts relevant to a more modern and globalized world. Subcultures are derived as a direct response to society’s popular culture. Subcultures are created from the void left by what the popular culture fails to offer, and in terms of music it’s the honest expression and experimentation in styles and sounds motivated by perception and opinions as opposed to marketing strategies and the glory of fame. The people who make up this music subculture achieved in creating an infrastructure for networking and building outside the confines of the popular music industry, enabling free expression of ideas, sounds and styles relevant to the society and environment that surrounds them. As products of their environment, subcultures are especially important as it enables lesser heard voices of society to be acknowledged and heard. As subcultures expand and gain popularity, the popular music industry is most likely to take subcultures and use their expressive forms for profit. It is in this stage we see original subcultures reinterpreted and transformed for mass consumption. It is also in this stage where we see shifts of styles and sounds within the underground, as it reacts to the popular culture reinterpreting their ideals. This ongoing process is what moves culture forward making it worthy to document and examine. Society would be one-sided without subcultures as subcultures provide the space for experimental, radical, eccentric, subversive ideals and thoughts that popular culture is reluctant to explore. In other words, the underground is a space for development of new ideals and ideologies, a space to work things out, a space that could centually lend to changes, reforms and growth of a society.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้ศึกษาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของกระแสความนิยมของสังคม และนำเสนอถึงบทบาทของเพลงป๊อปในเมืองไทย ว่าเป็นอย่างไร เพลงป๊อปมีเส้นทางอย่างไรในมหานครกรุงเทพฯ มีความหมายกับใครอย่างไรบ้าง และเพลงป๊อปสมัยใหม่เป็นอย่างไร ในบทต่าง ๆ ต่อไปนี่ ข้าพเจ้าจะอธิบายคุณค่าของเพลงสมัยใหม่ในกรุงเทพฯ โดยตอนต้นจะกล่าวกึงบรรยากาศและส่วนประกอบอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดเพลงสมัยใหม่ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งใบ้ความสนใจไปที่ผู้สร้างสรรค์ ดนตรีร่วมสมัยในกรุงเทพฯ โดยจะกล่าวถึงเส้นทางการเดินทางของดนตรีสมัยใหม่จนถึงปัจจุบันก่อนที่จะใช้บทสัมภาษณ์ของนักดนตรี และผู้มีส่วนร่วมในวงการดนตรี ของกรุงเทพฯ ณ ปัจจุบัน ต่อจากนั้นข้าพเจ้าจะวิเคราะห์การเติบโตของเพลงทดลองว่าพัฒนาจนมาเป็นเพลงที่ได้รับความนิยมในสังคมได้อย่างไร เพื่อให้เห็นว่าเหตุใดเพลงสมัยใหม่จึงมีแนวทางอย่างที่มันเป็นอยู่ในขณะนี้ หลักทฤษฎีที่อ้างอิงนั้นนำมาจากหนังสือ 2 เล่มคือ Subculture: the Meaning of Style (1979) ของ Mr. Dick Hebdige และ Inside Subculture: the Postmodern Meaning of Style (2000) ของ Mr. David Muggleton ซึ่งเขาได้นำทฤษฎีที่มีอยู่เดิมมาขยาย และปรับปรุง วัฒนธรรมรองเกิดขึ้นเพื่อสะท้อนค่านิยมหลักของสังคม โดยวัฒนธรรมรองนี้จะเติมเต็มช่องว่างที่ขาดหายของกระแสความนิยมหลัก ซึ่งดนตรีทดลองนั้นอาจเป็นแนวที่ไม่สามารถแสดงออกได้อย่างเปิดเผยโดยทั่ว ๆ ไป แต่ด้วยวัฒนธรรมรองนี้เองแนวดนตรีทดลองจะสามารถแสดงออกอย่างอิสระและเปิดกว้างสำหรับผลตอบรับที่อาจเกิดขึ้น รูปแบบของดนตรีทดลองนิเกิดขึ้นจากความคิดเห็นและมุมมองที่เป็นตัวตนที่แท้จริงโดยไม่มีเหตุผลอื่นใดแอบแฝง กลุ่มคนที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมแบบวัฒนธรรมรองนี้ได้สร้างโครงข่ายเป็นกลุ่มก้อนของตนเองขึ้น โดยไม่อิงกระแสความนิยม การรวมตัวเป็น กลุ่มอ้อนนี้เองทำให้เราเห็นภาพสะท้อนของสังคมโดยไม่มีสิ่งใดมาปิดกั้น เสียงเหล่านี้จะสะท้อนความคิดเห็นของคนที่อยู่ในสังคมเหล่านั้นได้จริง ๆ ก็นับว่าวัฒนธรรมรองนี้เป็นที่ซึ่งเปิดโอกาสให้คนที่ไม่สามารถจะออกเสียงในสังคมทั่วไปได้แสดงออกอย่างเต็มที่ ณ ที่นี้ ดนตรีทดลองเริ่มขยายตัวและเป็นที่รู้จัก ทำให้วงการดนตรีหันมาให้ความสนใจงานดนตรีลักษณะนี้ตามกระแสนิยมแต่จะมีการ เปลี่ยนแปลงเนื้อหาหรือความเป็นตัวตนที่จริงของดนตรีทดลองเพื่อให้เป็นที่ยอมรับในตลาด ซึ่งส่งผลต่อเนื้องให้มีการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนารูปแบบดนตรีทดลองใบ้แตกต่างจากแนวดนตรีที่ได้ถูกนำไปพัฒนาจนเป็นที่นิยมแล้ว และจากวัฏจักรนี้เองเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ กระแสความนิยมหลักไม่อยู่นิ่งหากสังคมไม่มีวัฒนธรรมเองก็จะเสมือน เหรียญ นเดียว ในนธรรมเองนั้นโอ้เปิดโอกาสให้ทุก ๆ ความคิดเห็นได้แสดงออก ไม่มีคำว่าถูกหรือผิด สำเร็จหรือล้มเหลว หากแต่จะก่อให้เกิดการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงและเดินก้าวของสังคม
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Thai Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65824
ISSN: 9741748213
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manond_ap_front_p.pdfCover Abstract and Contents823.17 kBAdobe PDFView/Open
Manond_ap_ch1_p.pdfChapter 11.33 MBAdobe PDFView/Open
Manond_ap_ch2_p.pdfChapter 2939.73 kBAdobe PDFView/Open
Manond_ap_ch3_p.pdfChapter 31.11 MBAdobe PDFView/Open
Manond_ap_ch4_p.pdfChapter 4636.96 kBAdobe PDFView/Open
Manond_ap_back_p.pdfReferences and Appendix722.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.