Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65873
Title: | การให้ความคุ้มครองทางกฎหมายแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจ |
Other Titles: | Legal Protection of Business Methods |
Authors: | สาวิตรี เจริญชัยอักษร |
Advisors: | อรพรรณ พนัสพัฒนา สุธรรม อยู่ในธรรม |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ |
Advisor's Email: | Orabhund.P@Chula.ac.th,Orabhund.p@chula.ac.th Sudharma.Y@chula.ac.th |
Subjects: | การจัดการธุรกิจ -- สิทธิบัตร กฎหมายสิทธิบัตร นวัตกรรมทางเทคโนโลยี -- สิทธิบัตร Patent laws and legislation Technological innovations -- Patents |
Issue Date: | 2546 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาถึงแนวทางการให้ความคุ้มครองทางกฎหมายแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจ (business methods) โดยศึกษาการให้ความคุ้มครองตามหลักกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นประเทศที่ได้ให้ความคุ้มครองแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจภายใต้กฎหมายสิทธิบัตร นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาขอบเขตการให้ความคุ้มครองภายใต้กฎหมายสิทธิบัตรของไทย เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการให้ความคุ้มครองแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจภายใต้กฎหมายไทย จากการศึกษาพบว่า วิธีการดำเนินการทางธุรกิจไม่สามารถขอรับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายสิทธิบัตรไทยได้ เนื่องจากรูปแบบของวิธีการดำเนินการทางธุรกิจไม่มีลักษณะเป็นการประดิษฐ์ตามที่กฎหมายสิทธิบัตรไทยกำหนด อย่างไรก็ดี วิธีการดำเนินการทางธุรกิจอาจได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์ และกฎหมายความลับทางการค้าได้ แต่กฎหมายดังกล่าวยังไม่สามารถให้ความคุ้มครองที่เหมาะลมแกวิธีการดำเนินการทางธุรกิจ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงได้เสนอให้มีการออกกฎหมายลักษณะเฉพาะ (sui generis) อันจะทำให้วิธีการดำเนินการทางธุรกิจได้รับความคุ้มครองที่เหมาะสม โดยกฎหมายดังกล่าวอาจให้ความคุ้มครองในลักษณะเดียวกับกฎหมายสิทธิบัตร คือ การให้สิทธิเด็ดขาดแต่เพียงผู้เดียว (exclusive right) แก่ผู้ทรงสิทธิเหนือทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้รับความคุ้มครอง โดยผู้ทรงสิทธิ ต้องเปิดเผยข้อมูลความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาดังกล่าวเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับความคุ้มครองที่ได้รับ แต่กฎหมายลักษณะเฉพาะ (sui generis) จะมีการกำหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนและเหมาะลมเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองแก่วิธีการดำเนินการทางธุรกิจ ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับประเทศมากที่สุด |
Other Abstract: | This thesis focuses on legal protection of business methods - the aim is to analyze current patent theory in the context of business methods in the United States, European Union and the United Kingdom. Moreover, Thai patent law is throughly analyzed in order to provide adequate protection of business methods in Thailand. From the research, inventions regarding methods of doing business are outside the scope of Thai patent law; then, such methods cannot be patented. However, business methods may be possibly protected as copyrights or trade secrets but copyright protection and trade secret protection may not be adequate for business methods as patent protection. Therefore, sui generis can also be used as a device to cover methods of doing business alongside patent regulations as well. It is believed that the proposal strikes a delicate balance between the public interest and the interests of businesses. On the one hand, the need to assure fair and equitable intellectual property protection, given current conditions prevailing in Thailand. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
Degree Name: | นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิติศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65873 |
ISBN: | 9741749503 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sawitri_ch_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 794.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 709.62 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sawitri_ch_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 707.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.