Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66108
Title: | การสกัดระดับจุลภาคแบบกระจายสำหรับการตรวจวัดตะกั่วและดีบุกในอาหารกระป๋องประเภทน้ำ |
Other Titles: | Dispersive liquid-liquid microextraction for the determination of Pb²⁺ and Sn²⁺ in aqueous based canned foods |
Authors: | ทิพย์สุดา ทับโพธิ์ |
Advisors: | ศิริพัสตร์ ไชยันต์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | SIRIPASTR.JA@CHULA.AC.TH |
Subjects: | ตะกั่ว -- การตรวจวัด ดีบุก -- การตรวจวัด |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การแปรรูปอาหารและถนอมอาหารอาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารขึ้นได้ งานวิจัยนี้ต้องการพัฒนา วิธีสกัดตะกั่วและดีบุกด้วยเทคนิคการสกัดระดับจุลภาคแบบกระจาย (DLLME) สำหรับการตรวจวัดด้วยเทคนิค inductively coupled plasma - optical emission spectrometer (ICP-OES) ในอาหารกระป๋องประเภท น้ำซึ่ง Codex Committee Food Additives and Contaminants (CCFAC) และองค์การอนามัยโลกได้ กำหนดปริมาณการปนเปื้อนขั้นต่ำของตะกั่วและดีบุกในอาหารกระป๋องไว้ที่ 1 และ 250 ppm ตามลำดับ สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดตะกั่วและดีบุกพร้อมกันด้วยเทคนิค DLLME โดยใช้โซเดียมไดเอทิลไดไทโอคาร์ บาเมต 8.0 % (w/w) เป็นคีเลต ตัวทำละลายสกัด คือ คลอโรฟอร์ม 500 μL และตัวทำละลายกระจายตัว คือ เมทานอล 800 μL เวลาในการเซนตริฟิวส์ 3 นาที สกัดที่ 45 °C สามารถเพิ่มความเข้มข้นสำหรับตะกั่วและ ดีบุกได้ 43.3 และ 4.05 เท่า ตามลำดับ |
Other Abstract: | Food processing and preservation can cause unintended contamination in food. This project developed a dispersive liquid-liquid microextraction (DLLME) method for simultaneous extraction of Pb2+ and Sn2+ for the detection by inductively coupled plasma – optical emission spectroscopy (ICP-OES) in aqueous based canned foods. The Codex Committee Food Additives and Contaminants (CCFAC) and World Health Organization (WHO) set maximum concentration limits for Pb²⁺ and Sn²⁺ at 1 and 250 ppm, respectively. Simultaneous extraction conditions are: 8.0 % (w/w) sodium diethyldithiocarbamate (DDTC) as a chelating agent, 500 μL of chloroform as extraction solvent, 800 μL of methanol as disperser solvent, 3 minutes of centrifuge and 45 °C of extraction temperature. The optimized method provides 43.3 and 4.05 folds enrichment for Pb²⁺ and Sn²⁺, respectively. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66108 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tipsuda Tu_SE_2560.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.