Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.authorดลพร เจียรณ์มงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-06-04T04:34:40Z-
dc.date.available2020-06-04T04:34:40Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741706448-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66166-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractจากการศึกษาหาปริมาณแบคทีเรียจากตัวอย่างอากาศและสำรวจความเจ็บป่วยในระบบทางเดินหายใจของประชาชนบริเวณรอบ ๆ ศูนย์รวบรวมขยะหนองแขม 6 สถานี โดยมีตัวอย่างอากาศ 126 ตัวอย่าง ในช่วง 7 เดือน (เดือนกรกฎาคม 2543-มกราคม 2544) พบว่า ปริมาณแบคทีเรียเฉลี่ยในฤดูแล้งมากกว่าในฤดูฝน และบริเวณที่อยู่ใกล้ศูนย์รวบรวมขยะ จะมีปริมาณ แบคทีเรียสูงกว่าบริเวณที่อยู่ห่างออกไป บริเวณที่มีปริมาณแบคทีเรียเฉลี่ยสูงสุดในฤดูฝนคือโรงผลิตปุ๋ย มีปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด 4.26x104 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร และปริมาณแบคทีเรียที่มีชีวิต 2.49x104 โคโลนีต่อลูกบาศก์เมตร และในฤดูแล้งมีปริมาณสูงสุดที่ ซอยเพชรเกษม106 ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด 4.98x104 เซลล์ต่อลูกบาศก์เมตร และปริมาณแบคทีเรียที่มีชีวิต 2.24x104 โคโลนีต่อลูกบาศก์เมตร โดยที่ทีศทางลมและฝนมีผลต่อการแพร่กระจายของแบคทีเรีย จากผลของแบบสอบถาม พบว่าในฤดูแล้งประชาชนจะมีอาการของความเจ็บป่วยทางเดินหายใจมากกว่าในฤดูฝน โดยประชาชนส่วนใหญ่มีการแสดงอาการของโรค ร้อยละ 4.08 ในฤดูฝน และ ร้อยละ 33.33 ในฤดูแล้ง และเมื่อหาความสัมพันธ์ของปริมาณแบคทีเรียกับความเจ็บป่วย พบว่าทั้งฤดูฝนและฤดูแล้งมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่ความเชื่อมั่น 95 %-
dc.description.abstractalternativeFrom 126 outdoor air samples collected from 6 stations around Nong-kam collecting center during July 2000 to January 2001. Airborne bacterial were quantified as total count and viable count. The average bacterial concentration in dry season was higher than in the wet season. Bacterial concentration decreased gradually at the further distance from the collecting center. During dry and season, the problem of respiratory system of the people around the collecting center was higher than during wet season. The bacterial number was correlated to sickness cases of the people significantly at 95% confident.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขยะ -- แง่สิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectขยะ -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectมลพิษทางอากาศen_US
dc.subjectจุลินทรีย์en_US
dc.subjectRefuse and refuse disposal -- Environmental aspects-
dc.subjectRefuse and refuse disposal -- Thailand -- Bangkok-
dc.subjectAir -- Pollution-
dc.subjectMicroorganisms-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการกระจายของแบคทีเรียในอากาศกับปัญหาสุขภาพ ของชุมชนรอบๆ ศูนย์รวบรวมขยะหนองแขมen_US
dc.title.alternativeRelation between airborne bacterial distribution and communities health problems around Nong-Kam collecting centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Donporn_ch_front_p.pdf761.96 kBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_ch1_p.pdf639.62 kBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_ch2_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_ch3_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_ch4_p.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_ch5_p.pdf655.58 kBAdobe PDFView/Open
Donporn_ch_back_p.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.