Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยรรยง เต็งอำนวย-
dc.contributor.authorชนะ ปรีชามานิตกุล-
dc.date.accessioned2020-08-27T07:45:30Z-
dc.date.available2020-08-27T07:45:30Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745326518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67744-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractกุญแจรหัสส่วนตัวของเทคโนโลยีกุญแจคู่สาธารณะเป็นวิธีการหนึ่งที่ได้รับการยอมรับว่า มีความปลอดภัยสูงในการนำไปใช้ในด้านการรักษาความลับและกระบวนการของการพิสูจน์ตัวตน ในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้งานในรูปแบบของลายมืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เปรียบเทียบเท่ากับลายมือชื่อหรือลายเซ็นโดยทั่วไปอันต้องมีผลบังคับทางด้านกฎหมายด้วย ดังนั้นขั้นตอนหรือกระบวนการในการได้มาการดูแลรักษาของกุญแจรหัสส่วนตัวต้องมีความน่าเชื่อถือว่ามีความปลอดภัยเพียงพอในการนำไปใช้เนื่องจากผู้ใช้ต้องรับผิดชอบต่อการทำธุรกรรมที่มีมูลค่ามหาศาลนั้น ๆ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์หลักคือการสร้างแนวทางที่เป็นขั้นตอนในการปฏิบัติงานเพื่อความ ปลอดภัยในการได้มาและใช้งานของกุญแจรหัสส่วนตัวที่เชื่อถือได้ รวมถึงข้อควรระวังในการ นำไปใช้งานตลอดจนการดูแลรักษากุญแจรหัสส่วนตัว การวิจัยใช้วิธีการศึกษาและอ้างอิงโดย เปรียบเทียบจากมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ยอมรับในระดับสากลซึ่งมีการนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายเช่น ISO, COBIT, ITIL และ HIPPAA และยังศึกษาถึงกระบวนการยอมรับของผู้บริหาร เพื่อใช้นำเสนอต่อผู้บริหารขององค์กรซึ่งในงานวิจัยนี้เลือกสภาพแวดล้อมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นกรณีศึกษาถึงการนำกระบวนการดังกล่าวไปใช้งานผลที่ได้จากการศึกษาพบว่าขั้นตอนต่าง ๆ ที่ครอบคลุมตั้งแต่นโยบายการเตรียมความพร้อมพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัย และขันตอนการสร้างกุญแจรหัสบัน สามารถทำได้โดยนำจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานมาประยุกต์ใช้ พร้อมแจกแจงรายละเอียดการปฏิบัติงานซึ่งบางมาตรฐานไม่ได้กล่าวไว้มาสรุปเป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยสามารถแยกเป็น 2 แนวทางด้วยกันคือ ขั้นตอนการปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทั่วไป และสำหรับการใช้งานในระดับ ผู้บริหารเพื่อใช้ในงานด้านความปลอดภัยของหน่วยงานหรือองค์กรต่อไป-
dc.description.abstractalternativePrivate key of Public key infrastructure is a well-accepted mean of high security in upholding confidentiality and verifying personal authentication. Presently, the implementation of digital signature for worldwide electronic transactions is becoming comparable to general hand writing or personal signature and also must be authorized legally. As a result, the procedure of obtaining and maintaining a long-termed private key should be convincingly trustworthy to the user who has to be responsible to those valuable transactions. This research has the main objective to provide a framework for creating the trustworthy and secure operational procedure for obtaining and using long-termed private keys. The research employs the method of analysis and reference in many presently well-known and worldwide recognized standards, such as ISO, COBIT, ITIL and HIPPAA. It also presents the procedure for executive. Chulalongkorn University is the environment selected as case study. The result of this study found that the whole process, covering policy, security infrastructure preparation, and the private key generation procedure, is trustworthy by applying the strength of each standard accompanied by the detail deliberation of the work instructions that few standards have not been proposed. The procedures are divided into two parts: one for general administrators and another for managerial level to use in the security task within the division or organization.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการเข้ารหัสลับข้อมูลen_US
dc.subjectวิทยาการรหัสลับen_US
dc.subjectData encryption (Computer science)en_US
dc.subjectComputer securityen_US
dc.subjectCryptographyen_US
dc.titleขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เชื่อถือได้เพื่อการได้มา และการใช้งานระยะยาวของกุญแจรหัสส่วนตัวen_US
dc.title.alternativeTrustworthy operational procedure for obtaining and long-termed using of private keyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYunyong.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chana_pr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ852.72 kBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_ch1_p.pdfบทที่ 1879.28 kBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_ch2_p.pdfบทที่ 21.6 MBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_ch3_p.pdfบทที่ 31.94 MBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_ch4_p.pdfบทที่ 41.05 MBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_ch5_p.pdfบทที่ 5679.08 kBAdobe PDFView/Open
Chana_pr_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก901.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.