Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67911
Title: | การปรับจูนตัวเองของตัวควบคุมพีไอดีโดยใช้ข่ายงานระบบประสาท |
Other Titles: | Auto-tuning of PID controllers using neural network |
Authors: | วรุณย์พันธุ์ สุขสมมโน |
Advisors: | วัชรพงษ์ โขวิฑูรกิจ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Watcharapong.K@Chula.ac.th |
Subjects: | ตัวควบคุมพีไอดี การควบคุมอัตโนมัติ นิวรัลเน็ตเวิร์ค (วิทยาการคอมพิวเตอร์) การควบคุมทำนายแบบจำลอง PID controllers Automatic control Neural networks (Computer science) Predictive control |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการศึกษาการประยุกต์ใช้ข่ายงานระบบประสาทในการปรับปรุงวิธีการปรับจูนตัวควบคุม PID โดยศึกษากับกระบวนการเชิงเส้นแบบต่าง ๆ และทดลองกับกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยคอมพิวเตอร์และการควบคุมในเวลาจริง โดยนำผลการทดลองที่ได้มาเปรียบเทียบกับตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนด้วยวิธีแบบเดิมที่อาศัยเทคนิคการป้อนกลับด้วยรีเลย์และสูตรการปรับจูน ZieglerNichols แบบปรับปรุง ในการทดลองกับแบบจำลองคอมพิวเตอร์ของกระบวนการเชิงเส้นแบบต่าง ๆ พบว่าตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนได้ด้วยวิธีที่เสนอ ให้ผลการควบคุมที่ดีกว่าตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนด้วยวิธีเดิม ทังใน สภาวะปกติ และสภาวะที่มีความไม่แน่นอนของกระบวนการเกิดขืน โดยพิจารณาจากช่วงเวลาขาขึ้นสัน กว่า และค่าพุ่งเกินที่น้อยกว่า ในการทดลองควบคุมกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยคอมพิวเตอร์และการควบคุมในเวลาจริง พบว่าผลการควบคุมด้วยตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนด้วยวิธีทังสองใกล้เคียงกัน แต่ในสภาวะที่มีการเปลี่ยนจุดทำงานของกระบวนการ พบว่าตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนได้ด้วยวิธีที่เสนอ ให้ผลการควบคุมที่ดีกว่ามีช่วงเวลาขาขึ้นสั้นกว่า และลักษณะของผลตอบสนองที่ได้ใกล้เคียงกับผลการควบคุมที่สภาวะปกติอีกทั้งตัวควบคุม PID ที่ปรับจูนได้มีความสามารถในการกำจัดผลของสัญญาณรบกวนได้ดี |
Other Abstract: | This thesis deals with the application of neural networks to the auto-tuning of PID controllers. Simulations were performed on various linear plants. Real-time control was also implemented on a heat exchanger process. The experimental results were then compared to the PID tuning method using a relay feedback and the RZN formula. Computer simulation results on linear system show that the proposed method gives better responses, in terms of shorter rise time and smaller overshoot, in the nominal case and when there are uncertainties in the plant parameters. Hardware experimental results on the heat exchanger process show that the proposed method and the RZN give comparable performance. But when the set point changes, the proposed method gives good responses that do not differ much from the nominal case. The disturbance rejection ability is also satisfactory. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67911 |
ISBN: | 9743349693 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Warunpun_su_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 824.64 kB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 964.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 4.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 925.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
Warunpun_su_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 770.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.