Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบญจรงค์กิจ-
dc.contributor.authorกัญดา ศรีธรรมูปถัมภ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-09-17T09:41:24Z-
dc.date.available2020-09-17T09:41:24Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743324577-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โฆษณาที่มีเสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อนต่อการระลึกถึงโฆษณาทางวิทยุ โดยวัดผลการระลึกถึงประเภทของสินค้า ตรายี่ห้อ และสารที่โฆษณาเอ่ยอ้าง เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้ฟังโฆษณาที่มีและไม่มีเสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อน กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง คือ นักศึกษาอาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จำนวน 50 คน อายุระหว่าง 18-25 ปี โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มที่ได้ฟังโฆษณาที่ได้รับการตรวจสอบแล้วว่ามีการใช้เสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อน และกลุ่มที่ได้ฟังโฆษณาเรื่องเดียวกันแต่ตัดเสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อนออก จากนั้นจัดให้ผู้เข้ารับการทดลองตอบแบบทดสอบเพื่อวัดความจำทั้งในส่วนการระลึกเสรีและการระลึกตามตัวแนะ การวิเคราะห์ผลการวิจัยทางสถิติทดสอบความแตกต่างระหว่างอัตราส่วน (Z-test proportion) พบว่า ผลการระลึกมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสนับสนุนทฤษฎี Mnemonic Devices ของ Bellezza และ Flashbulb Memory ของ Brown and Kulik สรุปได้ว่า การใช้เสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อนมีผลต่อการระลึกถึงประเภทสินค้า ตรายี่ห้อ และสารที่โฆษณาเอ่ยอ้าง แต่การระลึกจะเกิดขึ้นในระดับใดขึ้นอยู่กับความแรงของเสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อน ความเชื่อมโยงระหว่างเสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อนต่อตราสินค้าและสารที่โฆษณาเอ่ยอ้าง รวมถึงความถี่ในการรับฟังโฆษณา-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research is to study the effects of unexpected sound on radio spots recall of brand categories, brand name and advertising claims. The research compared experimental group listened to unexpected sound advertising and controlled group. The study was conducted on a sample of 50 volunteers from Bangkok University, aged between 18-25, were randomly assigned into 2 experimental groups, an experimental group listening to selected radio sports with unexpected sound and another listening to the same radio spots without unexpected sound. Each group was then arranged to answer a prepared questionnaire to measure their memory of free and cued recall. According to the Z-test proportion analysis, the results of recall significantly support the Mnemonic Devices and Flashbulb Memory theories. The study found that unexpected sound on radio spots have effect on the recall of brand categories, brand name and advertising claims. Nevertheless, the recall will be generated to free or cued levels depending on the strength of unexpected sound, the relation of unexpected sound toward brand name and advertising claims, and the frequency of advertising exposure.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโฆษณาทางวิทยุen_US
dc.subjectความจำen_US
dc.subjectการระลึก (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectRadio advertisingen_US
dc.subjectMemoryen_US
dc.subjectRecollection (Psychology)en_US
dc.titleผลของการใช้เสียงที่ไม่คาดคิดมาก่อนต่อการระลึกถึงโฆษณาทางวิทยุen_US
dc.title.alternativeThe effects of unexpected sound on radio spots recallen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanyada_sr_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.01 MBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_ch1_p.pdfบทที่ 11.09 MBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_ch2_p.pdfบทที่ 21.78 MBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_ch3_p.pdfบทที่ 3899.62 kBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_ch4_p.pdfบทที่ 41.53 MBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_ch5_p.pdfบทที่ 51.21 MBAdobe PDFView/Open
Kanyada_sr_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.