Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67970
Title: การศึกษาเปรียบเทียบคำลงท้าย "ma" ในภาษาจีนกลางกับคำในภาษาไทยที่มีความหมายเดียวกัน
Other Titles: A comparative study of final particle "ma" in Mandarin and its Thai equivalents
Authors: นิติ อธิกิจ
Advisors: สุรีย์ ชุณหเรืองเดช
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Advisor's Email: Suree.C@Chula.ac.th
Prapin.M@Chula.ac.th
Subjects: ภาษาจีน -- คำถาม (ไวยากรณ์)
ภาษาไทย -- คำถาม (ไวยากรณ์)
ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ
Chinese language -- Interrogative (Grammar)
Thai language -- Interrogative (Grammar)
Comparative linguistics
Issue Date: 2548
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบคำลงท้าย ma ในภาษาจีนกับคำลักษณะ เดียวกันในภาษาไทยว่า มีความหมายและการใช้เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เมื่อใช้กับเกณฑ์ กำหนดคำถามแบบตอบรับหรือปฏิเสธที่ได้ตั้งไว้ จากการศึกษาพบว่า คำ ma สามารถแสดงเจตนาของผู้พูดได้หลากหลายและสามารถแสดงความหมายแตกต่างกันไปตามบริบท หากวิเคราะห์ตามความประสงค์หรือความต้องการของ ผู้พูดเป็นหลัก จะสามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ 1. คำ ma ในประโยคคำถามประเภทประโยคถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธที่เป็นคำถามแท้ เป็นคำถามที่ผู้พูดต้องการคำตอบ เทียบได้กับคำ หรือเปล่า หรือยัง ไหม หรือไม่ 2. คำ ma ในประโยคคำถามประเภทประโยคถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธที่เป็นคำถาม ทดสอบ เป็นคำถามที่ผู้พูดต้องการทราบว่าผู้ฟังมีข้อมูลที่ผู้พูดถามหรือไม่ เมื่อปรากฎร่วมกับคำ ต่างๆ ที่ให้ความหมายเทียบได้กับคำ ใช่ไหม ใช่หรือไม่ ถูกไหม ถูกหรือไม่ ใช้ได้ไหม ใช้ได้ หรือไม่ ได้ไหมได้หรือไม่ นอกจากจะใช้ในประโยคถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธแล้ว คำ ma และคำลักษณะเดียวกัน ในภาษาไทยยังสามารถใช้ในรูปประโยคย้อนถามได้
Other Abstract: This study is to compare the meanings and usages of final particle “ma” in Mandarin Chinese and its Thai equivalents against a fixed set of criteria used for the type of yes-no questions to see if there is any similarity and difference between them. This study found that “ma” in Mandarin Chinese can express speakers’ different attitudes. It can also be used to represent different meanings depending on contexts. Based on the speakers’ objectives, we can analyze and divide the use of “ma” into two groups, namely: 1. The type of yes-no question “ma” used as a “real question”: It indicates the speaker’s desire for the answer and its Thai equivalents are “rww plaw” “rww yan” “mai” “rww mai”. 2. The type of yes-no question “ma” used as an “exam question”: It signals the speaker’s intention of acquiring the listener’s information and its Thai equivalents are “chai mai” “chai rww mai” “thuuk mai” “thuuk rww mai” “chai dai mai” “chai dai rww mai” “dai mai” “dai rww mai”. Aside from being used in the type of yes-no question, the Mandarin Chinese final particle “ma” and its Thai equivalents can be used in the form of rhetorical question as well.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ภาษาจีน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67970
ISBN: 9741438028
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Niti_at_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ910.91 kBAdobe PDFView/Open
Niti_at_ch1_p.pdfบทที่ 1867.21 kBAdobe PDFView/Open
Niti_at_ch2_p.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Niti_at_ch3_p.pdfบทที่ 32.49 MBAdobe PDFView/Open
Niti_at_ch4_p.pdfบทที่ 41.49 MBAdobe PDFView/Open
Niti_at_ch5_p.pdfบทที่ 5740 kBAdobe PDFView/Open
Niti_at_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.