Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68383
Title: การแอบมองและจ้องดูที่ปรากฎในภาพยนตร์
Other Titles: Gazing and voyeurism in films
Authors: ชูศรี งามประเสริฐ
Advisors: ศิริชัย ศิริกายะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: โรคถ้ำมอง
การจ้องดู
ภาพยนตร์
สัญศาสตร์
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีในการใช้การแอบมองและจ้องดูเพื่อการสื่อความหมายในภาพยนตร์จำนวน 9 เรื่อง และเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของภาพยนตร์ดังกล่าวเพื่อจะได้ทราบว่าภาพยนตร์ทั้งหมดสามารถจัดอยู่ในกลุ่มของภาพยนตร์แนวเดียวกันได้หรือไม่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาความหมายจากตัวบทภาพยนตร์ โดยอาศัยทฤษฎีการแอบมองจ้องดู ทฤษฎีสัญญะวิทยา สัญญะวิทยาของสื่อภาพยนตร์ และแนวคิดเรื่องการวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหา ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. องค์ประกอบของภาพยนตร์ที่นำมาศึกษามีลักษณะร่วมกันในด้านมุมมอง โครงสร้าง แนวคิดหลัก การสร้างตัวละคร แรงจูงใจ และฉาก แต่องค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอาจมีรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสิ่งที่ภาพยนตร์ต้องการนำเสนอ 2. ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ภาพยนตร์ที่นำมาศึกษามีธรรมเนียมแบบแผนและโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นลักษณะเฉพาะร่วมกัน ซึ่งทำให้สามารถจัดอยู่ในกลุ่มของภาพยนตร์แนวเดียวกันได้
Other Abstract: This research was aimed at analysing the strategies used in films to use gazing and voyeurism for creating the signification and analysing the films’s elements in order to find out whether the selected films could be arranged in the same genre. The research was based on the qualitative approach to figure out the meaning in the film texts. Voyeurism, Semiology, Semiology of the Cinema and the analysis of form and content were applied. The results are as follows: 1. There are some characteristics that these films share, for example, point of view, structure, theme, characterization, motivation and scene. Anyway detailed elements may vary according to what the films refer to. 2. The study indicates that all the selected films share common traditions and basic structures enabling them to be catagorized in the same film genre.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การสื่อสารมวลชน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68383
ISBN: 9743320644
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chusri_ng_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ849.26 kBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch1_p.pdfบทที่ 1991.5 kBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch2_p.pdfบทที่ 21.52 MBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch3_p.pdfบทที่ 3963.15 kBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch4_p.pdfบทที่ 45.77 MBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch5_p.pdfบทที่ 51.34 MBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_ch6_p.pdfบทที่ 6788.36 kBAdobe PDFView/Open
Chusri_ng_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.