Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68469
Title: | การพัฒนาโปรแกรมการให้การศึกษาผู้ปกครองในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียโดยใช้วิธีกรณีตัวอย่าง |
Other Titles: | A development of a parent education program in young thalassemic child rearing practice by using case method |
Authors: | สุณิสา เฮงสวัสดิ์ |
Advisors: | ศรินธร วิทยะสิรินันท์ ประนอม รอดคำดี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | เด็ก -- การดูแล ธาลัสซีเมีย |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิรัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมการให้การศึกษาผู้ปกครองในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียโดยใช้วิธีกรณีตัวอย่าง ตัวอย่างประชากรคือ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย ที่มารับบริการที่คลินิกโรคเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จำนวน 5 ราย ผลการวิจัยยมีดังนี้ 1.โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเป็นการดำเนินการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองโดยจัดกิจกรรมให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียรวมทั้งมีการปฏิบัติในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียอย่างถูกต้อง สาระสำคัญของโปรแกรมประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย วิธีดำเนินการ สื่อประกอบการใช้โปรแกรม และการประเมินผลผู้ใช้โปรแกรมคือ นักการศึกษาปฐมวัย ครูการศึกษาพิเศษ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ชั้นเตรียมการ ชั้นดำเนินการ และชั้นประเมินผล สื่อของโปรแกรมฯ ประกอบด้วย คู่มือการใช้โปรแกรมฯ เทปบันทึกกรณีตัวอย่าง 3 เรื่อง แผนการจัดกิจกรรม หนังสือภาพประกอบ แผ่นพับ และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ผลการทดลองใช้โปรแกรม พบว่า 2.1. ภายหลังการทดลอง ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์สูงขึ้น 2.2. ภายหลังการทดลอง ผู้ปกครองมีการเปลี่ยนแปลงการในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียไปในทางที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ |
Other Abstract: | การวิรัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมการให้การศึกษาผู้ปกครองในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียโดยใช้วิธีกรณีตัวอย่าง ตัวอย่างประชากรคือ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย ที่มารับบริการที่คลินิกโรคเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จำนวน 5 ราย ผลการวิจัยยมีดังนี้ 1.โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเป็นการดำเนินการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองโดยจัดกิจกรรมให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียรวมทั้งมีการปฏิบัติในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียอย่างถูกต้อง สาระสำคัญของโปรแกรมประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย วิธีดำเนินการ สื่อประกอบการใช้โปรแกรม และการประเมินผลผู้ใช้โปรแกรมคือ นักการศึกษาปฐมวัย ครูการศึกษาพิเศษ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ชั้นเตรียมการ ชั้นดำเนินการ และชั้นประเมินผล สื่อของโปรแกรมฯ ประกอบด้วย คู่มือการใช้โปรแกรมฯ เทปบันทึกกรณีตัวอย่าง 3 เรื่อง แผนการจัดกิจกรรม หนังสือภาพประกอบ แผ่นพับ และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ผลการทดลองใช้โปรแกรม พบว่า 2.1. ภายหลังการทดลอง ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียและการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์สูงขึ้น 2.2. ภายหลังการทดลอง ผู้ปกครองมีการเปลี่ยนแปลงการในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียไปในทางที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การศึกษาปฐมวัย |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68469 |
ISBN: | 9743315888 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sunisa_he_front_p.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_ch1_p.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_ch2_p.pdf | 3.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_ch3_p.pdf | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_ch4_p.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_ch5_p.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunisa_he_back_p.pdf | 23.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.