Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69647
Title: | Influence of embodiment on positive body image with self-objectification and body awareness as mediators of female yoga practitioners |
Other Titles: | อิทธิพลของการผสานกายและใจต่อความพึงพอใจในภาพลักษณ์ของผู้ฝึกปฏิบัติโยคะเพศหญิง โดยมีการประเมินตนเองเสมือนวัตถุและการตระหนักรู้ถึงร่างกายเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
Authors: | Worakarn Saekim |
Advisors: | Somboon jarukasemthawee Kullaya Pisitsungkagarn |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Psychology |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The purpose of this research was to examine the relationship between embodiment and body appreciation, with the mediating effects or body awareness and self-objectification. Participants were 188 Thai female yoga practitioners who practice yoga more than 6 hours per week and for at least 4 months. The mean age was 47.61. Participants completed the measure of embodiment, body appreciation, self-objectification, and body awareness. Results from the Structural Equation Modelling (SEM) analysis using AMOS indicated that the hypothesised model fit with the empirical data. Embodiment had a direct effect on body appreciation and an indirect one via reduced self-objectification. However, body awareness had no mediating effect on the relationship between embodiment and body appreciation. |
Other Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การผสานกายและใจและความพึงพอใจในภาพลักษณ์ โดยมีการตระหนักรู้ถึงร่างกายและการประเมินตนเสมือนวัตถุ เป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงไทย ที่ฝึกโยคะอย่างน้อยสัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 4 เดือน และมีอายุเฉลี่ย 47.61 ปี จำนวน 188 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดการผสานกายและใจ การประเมินตนเสมือนวัตถุ การตระหนักรู้ถึงร่างกาย และความพึงพอใจในภาพลักษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โมเดลโครงสร้างเชิงสมการด้วยโปรแกรมเอมอส (AMOS) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยการผสานกายและใจมีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในภาพลักษณ์ และมีอิทธิพลทางอ้อมในทางบวกอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ผ่านการประเมินตนเสมือนวัตถุ แต่ไม่พบอิทธิพลของการตระหนักรู้ถึงร่างกาย |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Psychology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69647 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.455 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2019.455 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6077621138.pdf | 5.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.