Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวดี วิบุลย์ศรี-
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorเสรี ชัดแช้ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-17T04:10:51Z-
dc.date.available2020-12-17T04:10:51Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746358014-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71610-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สม่ำเสมอของข้อสอบระหว่างวิธีแมนเทล-แฮนส์เชล แบบปกติ กับวีแทนเทล-แฮนส์เชส แบบแบ่งกลุ่มความสามารถของผู้สอบและความยากของข้อสอบ สำหรับกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2539 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 1,200 คน จำแนกตามเพศ เป็นกลุ่มผู้สอบเพศชาย 600 คน และกลุ่มผู้สอบเพศหญิง 600 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาไทย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ BILOG วิเคราะห์หาข้อสอบทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สม่ำเสมอ ตามวิธี IRT area แบบ 2 พารามิเตอร์ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 โปรแกรม ได้แก่ BILOG, EQUATE และ IRTODIF และวิเคราะห์หาข้อสอบทำหน้าที่ต่าง ๆ กันแบบไม่สม่ำเสมอ ตามวิธีแมนเทล-แฮนส์เชล แบบปกติ กับ แบบแบ่งกลุ่มสามารถของผู้สอบและความยากของข้อสอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ MHDIF ผลการวิจัยพบว่า 1. วิธี IRT area ตรวจพบข้อสอบทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สม่ำเสมอ ในแบบสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาไทย จำนวน 18 ข้อ จำแนกเป็นข้อสอบยาก จำนวน 2 ข้อ ข้อสอบยากง่าย ปานกลาง จำนวน 13 ข้อ และข้อสอบง่าย จำนวน 3 ข้อ 2. วิธีแมนเทล-แฮนส์เชล แบบปกติ ตรวจพบข้อสอบทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สมํ่าเสมอสอดคล้องกับวิธี IRT area 33.33% (6 ข้อใน 18 ข้อ)3. วิธีแมนเทล-แฮนส์เชล แบบแบ่งกลุ่มความสามารถของผู้สอบและความยากของข้อสอตรวจพบข้อสอบทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สมํ่าเสมอ สอดคล้องกับวิธี IRT area 61.11% (11 ข้อใน 18 ข้อ) เพิ่มขึ้นจากวิธีแมนเทล-แฮนส์เชล แบบปกติ จำนวน 5 ข้อ (27.77%) จำแนกเป็นข้อสอบยากง่ายปานกลาง 4 ข้อ และข้อสอบง่าย 1 ข้อ ในจำนวนข้อสอบที่ตรวจพบเพิ่มขึ้น เป็นข้อสอบทีมโค้งลักษณะข้อสอบของกลุ่มผู้สอบสองกลุ่มตัดกันในบริเวณใกล้ ๆ จุดกลางของช่วงความสามารถ จำนวน 3 ข้อ อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้ไม่ได้ศึกษา เรื่อง การระบุผิดพลาดว่าข้อสอบทำหน้าที่ต่างกัน ทั้ง ๆ ที่ความจริงแล้วเป็นข้อสอบทำหน้าที่ไม่ต่างกัน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to compare results from the detection of nonuniform differentially functioning test items between traditional Mantel-Haenszel and different grouping of examinee's ability and item difficulty procedure. The samples were Mathayomsuksa I students totally 1,200 of the secondary schools in Maung District, Chonburi Province. There were 600 males and 600 females. The Thai Reading Ability Test constructed by the researcher was used as a tool for data collection. Firstly, the examinee's ability and item difficulty was analyzed through the program BILOG. Secondly, the detection of nonuniform DIF items using the IRT area method was performed through the programs BILOG, EQUATE, and IRTDIF respectively. Thirdly, the detection of nonuniform DIF items using the MH procedure was performed through the program MHDIF. The major findings were as follows : 1. Using the IRT area method, 18 nonuniform DIF items were found of which to were difficult items, 13 were moderately difficult items, and three were easier items. 2. Using the traditional MH procedure, the detection rate of nonuniform DIF items showed 33.33% (six of 18 items) consistent with the results of the IRT area method. 3. Using the MH procedure under different grouping of examinee’s ability and item difficulty, the detection rate of nonuniform DIF items showed 61.11% (11 of 18 items) consistent with the results of the IRT area method. Compared to the traditional MH procedure, the results of the MH procedure under different grouping of examinee’s ability and item difficulty found five nonuniform DIF items (27.77%) more, four moderately difficult items and one easier item. For most of the nonuniform DIF items found, the item characteristic curves of two subgroups crossed close to the middle of the ability range. However, this study did not include false positives.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectข้อสอบ-
dc.subjectทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ-
dc.subjectExaminations-
dc.subjectItem response theory-
dc.titleการเปรียบเทียบผลการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันแบบไม่สม่ำเสมอ ของข้อสอบบระหว่างวิธีแมนเทล-แฮนส์เซล แบบปกติ กับ วิธีแมนเท ล-แฮนส์เซลแบบแบ่งกลุ่มความสามารถของผู้สอบและความยากของข้อสอบ-
dc.title.alternativeCompararison of results from the detection of nonuniform differentally functioning test items between traditional Mantel-Haenszel and different grouping of examinee's ability and item difficulty procedure-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Seree_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.06 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_ch2_p.pdfบทที่ 22.03 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.55 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.65 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_ch5_p.pdfบทที่ 51.04 MBAdobe PDFView/Open
Seree_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.