Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71797
Title: Effect of variables in chitosan film formulations on propranolol hydrochloride tablets
Other Titles: ผลของตัวแปรในสูตรตำรับฟิล์มไคโตแซนต่อยาเม็ดโพรพราโนลอล ไฮโดรคลอไรด์
Authors: Thawatchai Phaechamud
Advisors: Garnpimol C.Ritthidej
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Garnpimol.R@chula.ac.th
Subjects: Chitosan
Propranolol hydrochloride
Tablets (Medicine)
ไคโตแซน
โพรพราโนลอลไฮโดรคลอไรด์
ยาเม็ด
Issue Date: 1995
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Chitosan of different molecular weight (L<M<H) in 1% w/w acetic acid solution giving apparent viscosity of 125 mPa.s at concentrations of 2.025, 1.75 and 0.825 respectively were used as coating solution. Propylene glycol, PEG400 and triacetin of 10, 20 and 30% w/w of chitosan were added as plasticizer. They could form glossy yellowish film coating upon propranolol HC1 tablets with pan-spray method. The plasticized coated tablets with the higher M.W. of chitosan H exhibited slower drug release than those coated with plasticized the lower M.W. of chitosan M and L respectively. For plasticized coated tablets with propylene glycol, the coated tablets of plasticized combined chitosan L and H showed slowest drug release except plasticized coated tablets with propylene glycol 10%. For plasticized coated tablets with chitosan L, M and H, as the amount of propylene glycol increased, the drug release was faster, but the result was reversed in coated tablets with PEG400 and triacetin. The weight variation, friability, defects, hardness, disintegration time were also investigated. The physical appearance, IR spectra, X-ray diffraction, film swelling, moisture sorption and tensile properties of free films prepared from coating solutions were used to study the properties of chitosan free films and related to the properties of film on coated tablets. Incompatibility between chitosan and PEG400, and chitosan and triacetin were found in free films and on coated tablets. From IR spectra, they indicated that chitosan acetate might be formed after drying coating solutions. The dominantly slower drug release of coated tablets after kept at room temperature and exposure to accelerated condition might due to the hydrolysis of chitosan acetate.
Other Abstract: ไคโตแซนน้ำหนักโมเลกุลแตกต่างกัน 3 ชนิด (L<M<H) น้ำมาละลายในสารละลายกรดอะซิติกความเข้มข้น 1% โดยน้ำหนัก เพื่อเตรียมเป็นสารละลายสำหรับเคลือบที่ให้ความหนืดประมาณ 125 นิลลิปาสคาลวินาที ซึ่งได้ความเข้มข้น 2.025% โดยน้ำหนักจากไคโตแขน L, 1.75% โดยน้ำหนักจาก ไคโซแซน M และ 0.825% โดยน้ำหนักจากไคโดแซน H พลาสติไซเซอร์ 3 ชนิดคือ โพรไพลิน ไกลคอล, โพลีเอทธิลีน ไกลคอล 400 และไตรอะซิติน ในความเข้มข้น 10, 20 และ 30% โดยน้ำหนักของไคโตแขน ถูกเติมลงในสารละลายสำหรับเคลือบเหล่านี้ สามารถเคลือบยาเม็ดโพรพราโนลอลไฮโดรคลอไรด์ด้วยวิธีพ่นเคลือบในหม้อเคลือบ ซึ่งยาเม็ดเคลือบที่ได้มีลักษณะผิวมันเงา สีค่อนข้างเหลืองการปลดปล่อยตัวยาจากยาเม็ดที่เคลือบด้วยสารละลายไคโตแซน H ที่ใส่พลาสติกไซเซอร์ จะช้ากว่าที่เคลือบด้วยสารละลายสำหรับเคลือบไคโตแซน M และ ไคโตแซน L สำหรับยาเม็ด เคลือบที่ใช้โพรไพลีน ไกลคอลเป็นพลาสติไซเซอร์ ยาเม็ดที่ได้จากสารละลายผสมระหว่างสารละลายไคโพแซน L และ H ให้การปลดปล่อยตัวยาต่ำสุด ยก เว้นเมื่อใช้โพรไพลิน ไกลคอล 10% สำหรับยาเม็ดเคลือบจากสารละลายไคโตแซน L, M และ H การ เพิ่มปริมาณโพรไพลีน ไกลคอล มีแนวโน้มการเพิ่มการปลดปล่อยตัวยา ในขณะที่การเพิ่มปริมาณโพลีเอทธิลีน ไกลคอล 400 และ ไตรอะซิติให้ผลตรงกันข้าม นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการเบี่ยงเบนน้ำหนัก, ความกร่อน, ความบกพร่อง, ความแข็ง และเวลาในการแตกตัวของยาเม็ดเคลือบด้วย และคุณสมบัติของแผ่นฟิล์มทางกายภาพ, แผนภูมิจากวิธี IR spectrometry และ X-ray diffraction, การพองตัวของแผ่นฟิล์ม, การดูดซับความชื้นและคุณสมบัติทางเทนไซล์ นำมาใช้ศึกษาคุณสมบัติของฟิล์มจากไคโตแซน และนำมาสัมพันธ์กับคุณสมบัติของฟิล์มบนยาเม็ดเคลือบ ความไม่เข้ากันระหว่างไคโตแซนกับ โพลีเอทธิลีน ไกลคอล 400 และ ไคโตแซน กับ ไตรอะซิตินสามารถพบทั้งในแผ่นฟิล์มและบนผิวของเม็ดยาเคลือบ แผนภูมิ IR บ่งว่ามีไคโตแซนอะซิเตตเกิดขึ้น หลังจากทำให้สารละลายสำหรับเคลือบแห้งและการที่ตัวยา มีการปลดปล่อยช้าลงหลังเก็บทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง และหลังสัมผัสสภาวะเร่ง น่าจะเกิดจากการไฮโดรไลซิสของไคโตแซนอะซิเตต
Description: Thesis (M.Sc) --Chulalongkorn University, 1995
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Manufacturing Pharmacy
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71797
ISSN: 9746314432
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thawatchai_ph_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.3 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_ph_ch1_p.pdfบทที่ 12.12 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_ph_ch2_p.pdfบทที่ 21.12 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_ph_ch3_p.pdfบทที่ 310.53 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_ph_ch4_p.pdfบทที่ 41.09 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_ph_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.