Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.advisorสุขศรี บูรณะกนิษฎ-
dc.contributor.authorสุวรรณี ศรีจันทรอาภา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-04T09:13:13Z-
dc.date.available2021-06-04T09:13:13Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.issn9745638692-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73711-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพร้อมในการเป็นบิดามารดา ของบิดามารดาในภาคเหนือของประเทศไทย จำแนกตามที่อยู่อาศัย อายุ รายได้ และระดับการศึกษา โดยมีสมมติฐานของการวิจัยว่า บิดามารดาที่มีความแตกต่างกันในเรื่องที่อยู่อาศัย อายุ รายได้ และระดับการศึกษา มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาแตกต่างกัน ตัวอย่างประชากรที่ใช้ศึกษา เป็นมารดาที่มาตลอดและบิดาที่ซึ่งภรรยามาคลอดที่แผนกสูติกรรมของโรงพยาบาล 4 แห่ง ในภาคเหนือของประเทศไทย จำนวน 100 คู่ ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีแนวที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยนำแบบสัมภาษณ์ไปหาความตรงตามเนื้อหา กับผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบสัมภาษณ์ตามแบบสัมประสิทธิ์อัลฟา ของครอนบาช(Cronbach) เท่ากับ .85 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาอัตราส่วนร้อยละ มัชณิมเลขคณิต ความเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บิดามารดาในภาคเหนือส่วนใหญ่ (ร้อยละ 55) มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดา อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนที่เหลือ (ร้อยละ 35) เป็นบิดามารดาที่มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาในระดับสูง 2. บิดามารดาที่มีอายุต่างกันมีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาแตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัย สนองสมมติฐาน นั่นคือ บิดามารดาที่มีอายุ 21 - 30 ปี และสูงกว่ามีความพร้อมในการเป็นบิดามารดามากกว่าบิดามารดาที่มีอายุ 20 ปีและต่ำกว่า 3. บิดามารดาที่มีที่อยู่อาศัยต่างกัน มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยนี้สนองสมมติฐาน นั่นคือ บิดามารดาที่มีที่อยู่อาศัยในเขตเทศบาล มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดามากกว่าบิดามารดาที่มีที่อยู่อาศัยนอกเขตเทศบาล 4. บิดามารดาที่มีรายได้ต่างกัน มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยนี้สนองสมมติฐาน นั่นคือ บิดามารดาที่มีรายได้สูงมีความพร้อมในการเป็นบิดามารดามากกว่าบิดามารดาที่มีรายได้ต่ำ 5. บิดามารดาที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความพร้อมในการเป็นบิดามารดาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยนี้สนองสมมติฐาน นั่นคือ บิดามารดาที่มีการศึกษา ในระดับสูงมีความพร้อมในการเป็นบิดามารดามากกว่าบิดามารดาที่มีการศึกษาในระดับต่ำ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study parenthood readiness of parents in the Northern region of Thailand, and to compare parenthood readiness of parents with different ages, income and education level, and of parents from different residence areas. The research subjects, selected by systematic sampling, consisted of 100 couples who were admitted for labour, from 4 selected hospitals in the Northern region of Thailand. An interviewing questionnaire developed by the researcher was used in collecting data for this study. The questionnaire had been evaluated by 10 experts for content validity. Its reliability tested by coefficent alpha was 0.85. The gathered data were analyzed by using the following statistical procedures, percentage, arithmatic mean, standard deviation, t-test, one way analysis of variance and two way analysis of variance. The analysis of date indicated the following conclusions. 1. The majority of parenthood readiness of parents in the Northern region of Thailand (65 per cent) was at the middle level. The rest (35 per cent) of parents had the parenthood readiness at the high level. 2. There was a significant difference at the .01 level between the means of the total scores of parenthood readiness of parents who were in different age groups. Thus the hypothesis was substantiated. The parenthood readiness of parents who were 21 - 30 years of age and above were higher than that of the parents who were 20 years of age and lower. 3. There was a significant difference at the .01 level between the means of the total scores of parenthood readiness of parents who were in different residence areas. Thus the hypothesis was substantiated. The parenthood readiness of parents who lived in the metropolitan area were higher than that of the parents who lived in the rural area. 4. There was a significant difference at the .01 level between the means of the total scores of parenthood readiness of parents who had different income. Thus the hypothesis was substantiated. I The parenthood readiness of parents who had high income and middle income were higher than that of the parents who had low income. 5. There was a significant difference at the .01 level between the means of the total scores of parenthood readiness of parents who had different education level. Thus the hypothesis was substantiated. The parenthood readiness of parents who had high education and secondary education were higher than that of the parents who had the primary education. The researcher draw several nursing implications from the above findings.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1984.11-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครอบครัว -- ไทย (ภาคเหนือ)en_US
dc.subjectเด็ก -- ไทย (ภาคเหนือ) -- โภชนาการen_US
dc.subjectFamilies -- Thailand, Northernen_US
dc.subjectChildren -- Thailand, Northern -- Nutritionen_US
dc.titleความพร้อมในการเป็นบิดามารดารของบิดามารดาในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeParenthood readiness of parents in the northern region of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1984.11-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suvannee_sr_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ7.44 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_ch1.pdfบทที่ 110.13 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_ch2.pdfบทที่ 223.94 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_ch3.pdfบทที่ 36.86 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_ch4.pdfบทที่ 410.33 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_ch5.pdfบทที่ 514.47 MBAdobe PDFView/Open
Suvannee_sr_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก16.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.