Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73836
Title: ระบบข้อมูลที่ดินสำหรับการออกแบบเบื้องต้นในโครงการปฏิรูปที่ดิน
Other Titles: A land information system for preliminary design of land reform projects
Authors: สุทธิชัย แสงนาค
Advisors: วิชา จิวาลัย
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: โครงการปฏิรูปที่ดินบ้านคุง
ที่ดิน -- บริการสารสนเทศ
การปฏิรูปที่ดิน -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Land use -- Information services
Land reform -- Computer programs
Issue Date: 2527
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ได้มุ่งที่จะพัฒนาที่ดิน เพื่อการออกแบบเบื้องต้นสำหรับโครงการปฎิรูปที่ดิน วัตถุประสงค์หลักคือ การสร้างระบบที่จะประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยใช้เทคนิคของการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปแบบของแผนที่ตัวเลขและอักขระพิเศษ เพื่อเป็นเครื่องมือประกอบในการพิจารณารางแผนและออกแบบเบื้องต้น ระบุดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ส่วน คือ การเตรียมข้อมูล การประมวลผล และการแสดงผล ทั้งนี้ได้ใช้โครงการปฏิรูปที่ดินบ้านคุง จังหวัดอุดรธานี เป็นพื้นที่ศึกษาโดยมุ่งเน้นที่ระบบชลประทาน ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงถึงระดับของศักยภาพหรือลำดับก่อนหลังที่ควรจะพัฒนา ระบบดังกล่าวยังสามารถใช้ประยุกต์กับงานพัฒนาต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับข้อมูลและมาตรการที่ป้อนเข้าไปแม้ว่าระบบที่จัดทำขึ้นจะทำโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใหญ่ แต่ก็สามารถติดตั้งกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้ โดยการแก้ไขดัดแปลงโปรแกรมเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
Other Abstract: An attempt has been made to develop a Land Information System (LIS) for a preliminary design of land reform projects. Its main objective is to develop a system that would process required engineering and related data using the Potential Surface Analysis (PSA) technique. The display output is in the form of gray maps which could be used as a tool for planning and preliminary design. The system comprises basically of 3 main part i.e. data preparation, data processing, and output display. The Ban-dung Land Reform Project, Udonthanee province was used as a studied area, focusing on the irrigation system. The output will indicate potential levels or priorities to be developed. The system could also applied to various development objectives dependent on input data and assigned criteria. Although the main frame computer was used, with some modifications, the system could be installed in a microcomputer as well.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสำรวจ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73836
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1984.27
ISSN: 9745636908
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1984.27
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthichai_sa_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ2.03 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch1_p.pdfบทที่ 12.01 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch2_p.pdfบทที่ 25.09 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch3_p.pdfบทที่ 34.35 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch4_p.pdfบทที่ 48.22 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch5_p.pdfบทที่ 58.4 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_ch6_p.pdfบทที่ 61.65 MBAdobe PDFView/Open
Suthichai_sa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก59.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.