Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74234
Title: | ผลของเงื่อนไขการแปรรูปโลหะที่ใช้วิธีอีดีเอ็มที่มีต่อลักษณะ เฉพาะของกรรมวิธี |
Other Titles: | Effects of machining conditions using EDM method on process characterictics |
Authors: | สมเจตน์ สิงหพันธุ์ |
Advisors: | วิจิตร ตัณฑสุทธิ์ สมชาย พวงเพิกศึก |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | การปลดปล่อยประจุไฟฟ้า โลหะ งานโลหะ Electric discharges Metals Metal-work |
Issue Date: | 2533 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษานี้ได้ศึกษาผลของเงื่อนไขการทำงานที่สภาวะการทำงานต่าง ๆ ของขบวนการแปรรูปโลหะ ด้วยวิธีอีดีเอ็ม ที่มีต่อลักษณะเฉพาะที่สำคัญของกรรมวิธี 4 ประการ คือ อัตราการกัดเนี้อโลหะ, อัตราการสึกหรอของอีเล็คโตรด , ความหยาบของผิวงานและระยะดิสชาร์จ การทดลองโดยการแปรค่ากระแสดิสชาร์จใน ช่วง 9.85 - 30.5A และระยะพัลส์ 50 - 1000 µs โดยการใช้ทองแดงและอลูมิเนียมเป็นอีเล็กโตรดกัดชิ้นงานซึ่งเป็นเหล็กกล้า AISI 4140 ผลจากการทดลองพบว่า การเพิ่มของกระแสดิสชาร์จมีผลต่อการเพิ่มของทั้งอัดราการกัดเนี้อโลหะ, อัตราการสึกหรอของอีเล็ดโตรด, ความหยาบของผิวงาน และระยะดิสชาร์จ การเพิ่มระยะพัลส์มีผลต่อ การเพิ่มความหยาบของผิวงาน และระยะดิสชาร์จอัตราการกัดเนี้อโลหะ จะมีค่าสูงสุดเมื่อระยะพัลส์อยู่ในช่วง 200-500 µs อัตราการสึกหรอของอีเล็คโตรดเมื่อใช้ทองแดงเป็น อีเล็กโดรด จะลดลงเมื่อระยะพัลส์มีค่าสูงขึ้น ผลจากการทดลองได้นำมาสร้างแบบจำลองของกรรมวิธีอีดีเอ็ม ซึ่งมีรูปแบบเป็นสมการโพลีโนเมียล อันดับสอง การพิจารณาสภาวะที่เหมาะสม โดยกำหนดฟังก์ชั่นเป้าหมายเป็นสองกรณี คือการให้อัตราการกัดเนี้อโลหะสูงสุด และอัตราส่วนของอัตราการกัดเนี้อโลหะต่ออัตราการสึกหรอของอีเล็คโตรดสูงสุด ภายใต้เงื่อนไขขอบข่าย ความสามารถของเครื่องจักร และความหยาบของผิวงานที่กำหนด |
Other Abstract: | This study has emphasized the results of machining conditions of the Electrical Discharge Machining (EDM) that effected the four important process characteristics viz. metal removal rate, electrode wear rate, work piece surface roughness and discharge gap. The experiments were performed under the following conditions such as variations of discharge current and pulse duration range from 9.85 to 30.5 A and 50 to 1000 µs respectively. Copper and aluminium were used as electrode materials to machine the AISI 4140 steel work pieces. The experimental results indicated that an increasing of discharge current effected the increasing of metal removal rate, electrode wear rate, work piece sur face roughness and discharge gap. The increasing of pulse duration effected the increasing of both work piece surface roughness and discharge gap. The maximum metal removal rate was achieved with pulse duration range from 200 to 500 µs. The electrode wear rate when using copper as electrode tends to decrease with the increasing of pulse duration. Hence, the second order polynomial mathematical model was formulated. Two cases of objective functions were considered: to maximize metal removal rate and to maximize ratio of metal removal rate to electrode wear rate under the machine capacity and required work piece surface roughness constraints. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74234 |
ISBN: | 9745776912 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchate_si_front_p.pdf | 997.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_ch1_p.pdf | 925.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_ch2_p.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_ch3_p.pdf | 926.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_ch4_p.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_ch5_p.pdf | 675.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchate_si_back_p.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.