Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยา สุจริตธนารักษ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ วันทะนะ-
dc.contributor.authorประภาส ปิ่นตบแต่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-02T04:16:31Z-
dc.date.available2021-07-02T04:16:31Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745776998-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74306-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractงานวิจัยชั้นนี้ต้องการศึกษาโครงการประกวดหมู่บ้านดีเด่น ซึ่งกระทรวงมหาดไทย อันเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาโดยตรงเป็นผู้ดำเนินการ โดยมีสมมติฐานเบื้องต้น (hypothesis) ว่าการประกวดหมู่บ้านไม่ใช่เป็นการริเริ่มและผลักดันจากชาวบ้านหรือเป็นความต้องการของชาวบ้าน แต่เป็นความต้องการของทางราชการ ทั้งยังผลให้การประกวดหมู่บ้านกลายเป็นพิธีกรรม และปัจจัยหนึ่งเพื่อสร้างความเป็นเอกภาพและความมั่นคงในหมู่บ้านอีกด้วย ผลของการศึกษาพบว่า ภาพการมองหมู่บ้านในสายตาของหมู่บ้านหรือ "โลกของชาวบ้าน" (universe) ต่อเรื่องหมู่บ้านและการพัฒนากับ "โลกของทางราชการ” ความแตกต่างกัน หมู่บ้านในความรับรู้ (perception) ของชาวบ้านมีระบบความคิด ความเชื่อ และระบบสัญลักษณ์ ซึ่งเป็นคนละชุดกันกับหมู่บ้านในสายตาของทางราชการที่มองในเรื่องของความเป็นเอกภาพความมั่นคง และพบว่าการประกวดหมู่บ้านเป็นพิธีกรรมที่รัฐอาศัยเป็น" Means of Orientation” เพื่อระดมและผูกพันชาวบ้านในหมู่บ้านให้มาดำเนินกิจกรรม และมีความรับรู้เรื่อง“ หมู่บ้าน” และ“ การพัฒนา "ที่เป็นแนวทางเดียวกัน ภายใต้กฎเกณาระบบติดยุคเดียวกัน นั่นคือ รู้สึกชอบหรือคิดคล้ายกันกับที่ทางราชการต้องการ แต่อย่างไรก็ดี การศึกษาหมู่บ้านหลังการประกวด ผู้วิจัยพบว่าการประกวดหมู่บ้านไม่ได้ทำให้ทางราชการสามารถผนึกหมู่บ้านเข้ามาให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ทั้งหมด เมื่อการประกวดหมู่บ้านผ่านไปชาวบ้านก็กลับไปสู่วิถีชีวิตปกติปล่อยให้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของการประกวดหมู่บ้านที่ทางราชการเข้ามาผลักดันให้ดำเนินการผุพังไป-
dc.description.abstractalternativeThis research studies the Mode Community Development village-of the-Year Award Programme. It has as a hypothesis that this programme does not come from initiation of the villagers, neither does it serve their reeds. In contrast, it is designed to serve the state, resulting in its transformation into a political ritual, as well as a factor to foster unity and integrity within the village. The result of the study indicates that the villagers' perception of the village, or the "universe" of the villagers concerning the village, differs significantly from that of the state. The village in the villagers’ perception has different sets of belief and symbols from that of the state, which emphasizes on integrity and stability. Besides, eht Model Community Development Village-of-the-Year Award Programme is the ritual used by the state as a "means of crientation", in order to mobilize and integrate villagers into the developmental activities, as well as to foster among the villagers the same perception of "village" and "development" advocated by state, under the same rules and set of belief. In other word, the programme aims at socializing villagers according to patterns designed by the state.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโครงการประกวดหมู่บ้านดีเด่นen_US
dc.subjectหมู่บ้าน -- ไทยen_US
dc.subjectการตั้งถิ่นฐาน -- ไทยen_US
dc.subjectบ้านปาแหน่ง (ลำปาง)en_US
dc.subjectบ้านมาบตะโกเอน (นครราชสีมา)en_US
dc.subjectบ้านหนองไผ่ (ขอนแก่น)en_US
dc.subjectVillages -- Thailanden_US
dc.subjectLand settlement -- Thailanden_US
dc.titleหมู่บ้านไทยในบริบทของการพัฒนา : ศึกษากรณี หมู่บ้านประกวดen_US
dc.title.alternativeThai village within the context of development : a case study of model community development village-of-the year award programmeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapart_pi_front_p.pdf867.1 kBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch1_p.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch2_p.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch3_p.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch4_p.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch5_p.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch6_p.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_ch7_p.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Prapart_pi_back_p.pdf9.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.