Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74939
Title: ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการร้องขอความเป็นธรรมของข้าราชการตำรวจ
Other Titles: Legal Problems Relating to Petition for Redress of Grievances in Thai Police Personnel Management
Authors: สมชัย กุลกิจกำจร
Advisors: บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ปัญญา เอ่งฉ้วน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Borwornsak.U@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: ตำรวจ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
การบริหารงานตำรวจ
Issue Date: 2536
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: สิทธิในการร้องขอความเป็นธรรมของข้าราชการตำรวจ เป็นการให้หลักประกันความเป็นธรรมและความมั่นคงในอาชีพแก่ข้าราชการตำรวจตามหลักการบริหารงานบุคคลในระบบคุณธรรม (Merit system) และเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา ข้าราชการตำรวจบางรายไม่เข้าใจกฎหมายในเรื่องนี้ทั้งในส่วนของสิทธิในการร้องขอความเป็นธรรม เรื่องที่อาจร้องขอความเป็นธรรมได้และวิธีการร้องขอความเป็นธรรม การวิจัยในเรื่องนี้พบว่า ตัวบทกฎหมายในเรื่องการร้องขอความเป็นธรรมทั้งโดยการร้องทุกข์และการอุทธรณ์ยังไม่มีความชัดเจน และลักลั่นกันในหลายฉบับโดยเฉพาะกฎหมายว่าด้วยวินัยตำรวจ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการตำรวจ และกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ดังนั้น เพื่อให้ข้าราชการตำรวจได้รับการแก้ไขปลดเปลื้องทุกข์ได้ตามความประสงค์จึงควรแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับระบบรวมทั้งวิธีร้องขอความเป็นธรรมให้ชัดเจน และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสมดังเจตนารมณ์ของการร้อนขอความเป็นธรรมซึ่งจะทำให้กฎหมายเรื่องนี้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นเครื่องมือในการบริหารงานบุคคลในระบบราชการตำรวจได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง
Other Abstract: The right to ask for justice and fairness in police personnel management tends to guarantee merit system and security of carrier for police officers. However, it seems that many of them do not understand the said right both in substantive and procedural aspects. It has been found in this research that provisions of laws concerning the exercise of this right through the process of grievance and appeal are ambiguous. Moreover, the laws on police discipline, on police personnel management and on civil service personnel management seem to have many discrepancies. It is therefore necessary that laws and regulations related to this right be amended in order to provide clear and efficient protection of the officers.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74939
ISBN: 9745827797
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchai_ku_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ923.03 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_ch1_p.pdfบทที่ 1825.47 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_ch2_p.pdfบทที่ 21.34 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_ch3_p.pdfบทที่ 32.44 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_ch4_p.pdfบทที่ 41.13 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_ch5_p.pdfบทที่ 5933.67 kBAdobe PDFView/Open
Somchai_ku_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก798.45 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.