Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75914
Title: Determining the tracking error and value-at-risk of an active portfolio when combined with a passive portfolio with value-at-risk constraint
Other Titles: การกำหนดค่าตามรอยคลาดเคลื่อนและมูลค่าความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนเชิงรุก เมื่อรวมกับพอร์ตการลงทุนเชิงรับ ภายใต้ข้อจำกัดมูลค่าความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนรวม
Authors: Nuttawoot Ladee
Advisors: Sira Suchintabandid
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: When an asset manager manages a portfolio, he usually imposes a TE or a VaR limit on his portfolio to control portfolio risks. However, a portfolio may be divided into different portions. In our research, we consider a portfolio that consists of an active portion and a passive portion. Having a VaR budget of an entire portfolio, we propose methods to determine TE and VaR limit on the active portfolio and illustrate them by using real data. In the empirical part, some problems can occur when we relax certain theoretical assumptions such as (1) stocks in an investment universe can be different from stocks in a benchmark (2) there is a restriction on short-selling. Moreover, risk measures derived from the analysis part are "ex-ante," but calculation methods for monitoring are "ex-post." Therefore, we need to consider these limitations when using the proposed limit on TE and VaR of an active portfolio in real life.
Other Abstract: เมื่อผู้จัดการกองทุนมีการบริหารพอร์ตการลงทุนใดๆ ก็มักจะมีการกำหนดข้อจำกัดของค่าตามรอยคลาดเคลื่อนและมูลค่าความเสี่ยงเพื่อควบคุมความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุน ทั้งนี้พอร์ตการลงทุนสามารถแบ่งออกเป็นพอร์ตการลงทุนย่อย ซึ่งรายงานวิจัยฉบับนี้จะเน้นให้ความสนใจไปที่พอร์ตการลงทุนที่ประกอบด้วยส่วนของการลงทุนเชิงรุกและส่วนของการลงทุนเชิงรับ โดยจะเสนอวิธีการกำหนดข้อจำกัดของค่าตามรอยคลาดเคลื่อนและมูลค่าความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนเชิงรุกเมื่อมีการกำหนดมูลค่าความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนรวม นอกจากนี้จะมีการแสดงตัวอย่างการคำนวนโดยใช้ข้อมูลจริง และแสดงปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อสมมติฐานในภาคทฤษฎีต่างจากภาคปฏิบัติ เช่น (1) หุ้นที่สามารถลงทุนได้แตกต่างจากหุ้นในดัชนีชี้วัด (2) มีข้อจำกัดในการขายชอร์ต นอกจากนี้ค่าความเสี่ยงต่างๆในภาคทฤษฎียังเป็นการคำนวนแบบ“ก่อนเหตุการณ์” แต่การคำนวนค่าความเสี่ยงในทางปฏิบัติเป็นแบบ “หลังเหตุการณ์” ดังนั้นการนำวิธีการกำหนดค่าตามรอยคลาดเคลื่อนและมูลค่าความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนเชิงรุกที่เสนอไปใช้จริง จึงต้องคำนึงถึงข้อจำกัดดังกล่าวด้วย
Description: Independent Study (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Financial Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75914
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.91
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.IS.2020.91
Type: Independent Study
Appears in Collections:Acctn - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6182916126.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.