Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.authorอรอนงค์ วิสาสะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-29T03:22:18Z-
dc.date.available2008-07-29T03:22:18Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746373102-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7693-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractเปรียบเทียบคุณภาพของแบบวัดฉบับสั้นที่ใช้วิธีการคัดเลือกข้อกระทง 3 วิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อเปรียบเทียบความตรงเชิงโครงสร้าง และความเที่ยงของแบบวัดฉบับสั้นที่ได้จากการคัดเลือกข้อกระทงทั้ง 3 วิธี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดนิสัยและทัศนคติในการเรียนชุดต้นฉบับ ของบราวน์ และโฮลท์ซแมน (Brown and Holtzman) ซึ่งได้แปลเป็นฉบับภาษาไทยโดย ขจรสุดา เหล็กเพชร และแบบวัดฉบับสั้น 3 ฉบับที่ได้จากการคัดเลือกข้อกระทงทั้ง 3 วิธี กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในเขตการศึกษาที่ 12 จังหวัดระยอง จำนวน 979 คน วิเคราะห์ข้อกระทงจากแบบวัดต้นฉบับ เพื่อคัดเลือกข้อกระทงเป็นแบบวัดฉบับสั้น วิเคราะห์หาค่าสถิติพื้นฐาน วิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธี การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยโปรแกรมลิสเรล และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงจากสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และจากค่าฟังก์ชั่นสารสนเทศของแบบวัดฉบับสั้นทั้ง 3 ฉบับ ผลการวิจัยพบว่า ความตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัดฉบับสั้นทั้ง 3 ฉบับ มีความตรงเชิงโครงสร้างไม่แตกต่างกัน ในส่วนของค่าความเที่ยง พบว่า ค่าความเที่ยงของแบบวัดฉบับสั้นโดยการคัดเลือกข้อกระทง จากดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อตามไออาร์ที มีค่าความเที่ยงสูงสุด รองลงมาคือ แบบวัดฉบับสั้นที่ได้จากการคัดเลือกข้อกระทงจากน้ำหนักองค์ประกอบ และแบบวัดฉบับสั้นที่ได้จากการคัดเลือกข้อกระทงจากดัชนี รายข้อตามซีทีที แบบวัดฉบับสั้นทั้ง 3 ฉบับให้ค่าสารสนเทศสูงสำหรับผู้ตอบ ที่มีความสามารถระดับปานกลาง (theta ระหว่าง -2 ถึง +2) โดยแบบวัดฉบับสั้นที่คัดเลือกข้อกระทงจากน้ำหนักองค์ประกอบ ให้ค่าสารสนเทศสของแบบวัดสูงสุด รองลงมาเป็นแบบวัดฉบับสั้นที่คัดเลือกข้อกระทง จากดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อตามซีทีที และแบบวัดฉบับสั้นที่คัดเลือกข้อกระทง จากดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อตามไออาร์ทีen
dc.description.abstractalternativeTo compare the quality of short form tests by using three item selection methods that were factor loading and item discrimination indices based on the CTT and the IRT. The specific purpose were to compare the construct validity and reliability of short form tests by using three item selection methods. The research instrument was the survey of study habits and attitudes at the lower secondary education level of Brown and Holtzman translated by Khajonsuda Lekpetch. The sample consisted of 979 students in lower secondary education level M.2. Data were analyzed through descriptive statistics. Confirmatory Factor Analysis was performed to determine the construct validity through LISREL8.1, as well as Cronbach's alpha for the reliability. The results were as follows : 1) The short form tests had construct validity. 2) The short form test developed by discrimination indices item selection based on the IRT provided the highest reliability and the followed by short form tests developed by factor loading and discrimination indices item selection based on the CTT. 3) All short form tests provided high TIF for the persons with intermediate ability (theta between -2 to +2). The short form test developed by factor loading item selection provided the highest TIF and followed by the short form test developed by discrimination indices item selection based on CTT and IRT respectively.en
dc.format.extent1103579 bytes-
dc.format.extent1109215 bytes-
dc.format.extent2140945 bytes-
dc.format.extent1073462 bytes-
dc.format.extent1984720 bytes-
dc.format.extent1053848 bytes-
dc.format.extent1320497 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนen
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาen
dc.titleการเปรียบเทียบคุณภาพแบบวัดฉบับสั้น ที่ใช้วิธีการคัดเลือกข้อกระทง 3 วิธี : น้ำหนักองค์ประกอบ และดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อ ตามซีทีทีและไออาร์ทีen
dc.title.alternativeA comparison of the quality of short form tests by using three item selection methods : factor loading and item discrimination indices based on the CTT and the IRTen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiridej.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onanong_Wi_front.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_ch1.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_ch2.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_ch3.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_ch4.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_ch5.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_Wi_back.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.