Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77144
Title: | การศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการหาตำแหน่งความผิดพร่องบนสายส่งจากข้อมูลทั้งสองปลายสายโดยไม่ใช้พารามิเตอร์ของสายส่ง |
Other Titles: | Comparative study on fault location techniques for transmission lines based on two – terminal method without using line parameters |
Authors: | จงพุฒิ สิงห์คา |
Advisors: | ชาญณรงค์ บาลมงคล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Subjects: | สายส่งไฟฟ้า การส่งกำลังไฟฟ้า Electric lines Electric power transmission |
Issue Date: | 2563 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | จวบจนปัจจุบันมีการนำเสนอเทคนิคการคำนวณหาตำแหน่งความผิดพร่องบนสายส่งโดยไม่ใช้พารามิเตอร์ของสายส่งอย่างหลากหลาย ส่วนใหญ่จะคำนวณจากกระแสและแรงดันจากทั้งสองปลายที่ต้องคำนึงถึงการประสานเวลาของข้อมูลจากทั้งสองฝั่ง วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องในการคำนวณตำแหน่งความผิดพร่องของ 4 เทคนิคที่ไม่ใช้พารามิเตอร์ของสายส่ง พร้อมศึกษาพารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความแม่นยำ ใช้โปรแกรม MATLAB/SIMULINK จำลองระบบไฟฟ้ากรณีที่เกิดความผิดพร่อง โดยปรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น ตำแหน่งที่เกิดความผิดพร่อง ความยาวสายส่ง ความต้านทานที่จุดเกิดความผิดพร่อง ชนิดของความผิดพร่อง ความคลาดเคลื่อนของหม้อแปลงเครื่องมือวัด นอกจากนี้ได้ทดสอบใช้ข้อมูลจริงเมื่อเกิดความผิดพร่องบนสายส่งที่ได้จากเครื่องบันทึกความผิดพร่องมาใช้ในการศึกษาเปรียบเทียบด้วย |
Other Abstract: | Up to the present time, various techniques without using line parameters have been proposed to determine fault location on a transmission line. Most techniques based on the calculation of currents and voltages from both line ends with a concern in time synchronization. This thesis presents a study to compare accuracy of 4 fault location techniques without using line parameters. The tests are performed using MATLAB/SIMULINK to simulate a power system under many fault conditions. Impacts of parameters such as fault location, line length, fault resistance, fault type, error of instrument transformers are investigated. Furthermore, real fault data obtained from fault recorders are implemented as comparative case study. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77144 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1122 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.1122 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6170120921.pdf | 4.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.