Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78195
Title: การพัฒนาขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนที่ดัดแปรด้วยกราฟีนสำหรับการตรวจวิเคราะห์ราพามัยซิน
Other Titles: Development of graphene modified screen-printed electrode for determination of rapamycin
Authors: ณัฐณิชา ทองเชื้อ
Advisors: อรวรรณ ชัยลภากุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ขั้วไฟฟ้าคาร์บอน
ราพามัยซิน
กราฟีน
Rapamycin
Graphene
Electrodes, Carbon
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้อธิบายการพัฒนาของขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอนที่ดัดแปรด้วยกราฟีน สำหรับ ตรวจวัดราพามัยซิน พฤติกรรมทางเคมีไฟฟ้าของราพามัยซินบนขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอนที่ไม่ได้ ดัดแปร และขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอนที่ดัดแปรด้วยกราฟีนถูกทดสอบด้วยเทคนิคไซคลิกโวลแทม เมตรี โดยใช้สารละลายมาตรฐานเฟอร์ริ/เฟอร์โรไซยาไนด์ [Fe(CN)₆]³/⁴- พบว่า ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีน คาร์บอนที่ดัดแปรด้วยกราฟีนสามารถเพิ่มกระแสไฟฟ้า เนื่องจากขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอนมีพื้นที่ ผิวเพิ่มขึ้น ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้หาปริมาณของราพามัยซินด้วยเทคนิคสแควร์เวฟโวลแทมเม ตรี การศึกษาอิทธิพลของตัวแปรที่ส่งผลต่อความไว เช่น ผลของพีเอช ชนิดของสารละลายอิเล็กโทร ไลต์ อัตราส่วนของสารอินทรีย์ต่อสารละลายอิเล็กโทรไลต์ และตัวรบกวน ภายใต้ภาวะที่เหมาะสมให้ ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงอยู่ในช่วงความเข้มข้น 5 ถึง 500 ไมโครโมลาร์ ค่าขีดจำกัดการตรวจวัด 2.72 ไมโครโมลาร์ และค่าขีดจำกัดการหาปริมาณ 9.05 ไมโครโมลาร์ สุดท้ายนี้ อุปกรณ์รับรู้ทางเคมีไฟฟ้านี้ประสบความสำเร็จในการประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณราพามัยซินในตัวอย่างปัสสาวะ
Other Abstract: This work describes the development of a graphene modified screen-printed carbon electrode (G/SPCE) for the determination of rapamycin. The electrochemical behaviors of both unmodified SPCE and G modified SPCE were investigated by cyclic voltammetry (CV) using standard ferri/ferrocyanide [Fe(CN)₆]³/⁴- solution. Interestingly, the G/SPCE can enhance the current response due to simple increase of the SPCE surface area. Moreover, our system can be used for quantitation of rapamycin by square-wave voltammetric method (SWV). The influences of experimental variables on the sensitivity of the proposed method, such as the effects of pH, type of electrolyte, organic to electrolyte ratio and interferences, were investigated. Under optimal conditions, the calibration curve of rapamycin was found in a range of 5 to 500 μM with a limit of detection (S/N = 3) of 2.72 μM and a limit of quantification (S/N = 10) of 9.05 μM. Finally, this novel electrochemical sensor was successfully applied for rapamycin evaluation in urine samples.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78195
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natnicha Th_Se_2559.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.