Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78268
Title: การสังเคราะห์นาโนคอมพอสิตของลิเทียมไอรอนฟอสเฟตและคาร์บอน โดยใช้แหล่งคาร์บอนจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นขั้วแคโทดในลิเทียมแบตเตอรี่
Other Titles: Synthesis of LiFePO4/carbon nanocomposite using natural carbon sources for cathode materials in lithium ion battery
Authors: มัชฌิมา มงคลรัตนชัย
Advisors: นิปกา สุขภิรมย์
เจริญขวัญ ไกรยา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: นาโนคอมพอสิต
Nanocomposites (Materials)
Issue Date: 2560
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: LiFePO₄ คาร์บอนนาโนคอมพอสิต ซึ่งเป็นขั้วแคโทดชนิดหนึ่งที่ใช้ในลิเทียมแบตเตอร์สังเคราะห์สำเร็จใน งานวิจัยนี้ ด้วยกระบวนการ sol-gel ได้ผลิตภัณฑ์ผสมระหว่าง Li₃Fe₂(PO₄)₃ และ Fe₂O₃ ในขณะที่กระบวน ที่สังเคราะห์ LiFePO₄ ได้ คือกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล โดยมี LiOH FeSO₄ และ H3PO₄ เป็นแหล่ง ลิเทียม เหล็ก และฟอสเฟตตามลำดับ ในตอนแรก เนื้อของผลกล้วย ชานอ้อย และผลตะลิงปิงถูกใช้เป็นแหล่ง คาร์บอน และตัวรีดิวซ์ โดยคอมพอสิตที่ได้จากการใช้กล้วย และชานอ้อยในการสังเคราะห์ให้เฟสเดี่ยวของ LiFePO₄ ที่มีความเป็นผลึก ในขณะที่ตะลิงปิงมีสารปนเปื้อนเป็น เหล็กออกซาเลต จากนั้นทำการเผา LiFePO₄ ที่ใช้กล้วยในการสังเคราะห์ภายใต้แก๊สอาร์กอน XRD ได้แสดงว่าหลังจากเผายังคงเป็นเฟสเดี่ยวของ LiFePO₄ เมื่อนำไปวิเคราะห์ธาตุพบว่ามีปริมาณคาร์บอน 10.95% โดยน้ำหนัก และการทำแผนที่ธาตุโดยใช้ SEM-EDX ยืนยันว่าคาร์บอนกระจายตัวทั่ว LiFePO₄.
Other Abstract: LiFePO₄/carbon nanocomposites, ones of the cathode candidates for lithium ion battery, were successfully synthesized. In this work, sol-gel process provided the mixture of Li₃Fe₂(PO₄)₃ and Fe₂O₃, while the single phase of LiFePO₄ were could obtained via hydrothermal process, with LiOH, FeSO₄ and H3PO₄ as lithium, iron, and phosphate sources. For the first time, banana, bagasse, and bilimbi were used as a carbon source and a reducing agent. XRD results show that the products obtained from banana and bagasse gave the single crystalline phase of LiFePO₄, while that from bilimbi was impure with iron oxalate. The product obtained from banana was then calcined in the argon atmosphere to transform organic species to carbon. XRD showed that the phase of LiFePO₄ was still maintained after calcination, and elemental analysis revealed the carbon amount of 10.95% w/w. The elemental mapping by SEM-EDX also confirmed the distribution of carbon over LiFePO₄ particles.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78268
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Machima Mo_SE_2560.pdf9.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.