Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78298
Title: | Effect of physical property of non-woven materials to sound absorption performance |
Other Titles: | ผลของสมบัติทางกายภาพขององค์ประกอบในวัสดุเส้นใยซับเสียงต่อประสิทธิภาพการดูดซับเสียง |
Authors: | Thanawit Niyomna |
Advisors: | Varawut Tangpasuthadol |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Absorption of sound Polypropylene fibers Polyester fibers การดูดซับเสียง เส้นใยโพลิโพรพิลีน เส้นใยโพลิเอสเทอร์ |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Nowadays, absorptive material is one of interest material for noise reduction. Fibrous material is among the most popular absorptive material because it is flexible in shape and that can be applied in variety of application area. The mix of polyester and polypropylene fibers is investigated in this study. The physical properties of absorption materials (Fiber diameter, density of material and type of material) is evaluated by using Impedance tube refer to ASTM E1050 standard. The smaller fibers in diameter show higher acoustic absorption performance. The increase of the density of fibers show the better absorption performance at lower frequency, while the absorption performance decreasing at high frequency. By comparing between polyester and polypropylene, polypropylene has higher acoustic absorption performance. |
Other Abstract: | ในปัจจุบันนี้วัสดุดูดซับเสียงถูกนำมาใช้ลดปัญหามลภาวะทางเสียง วัสดุดูดซับเสียงที่ได้รับความนิยมในการใช้งานคือ วัสดุประเภทเส้นใย เนื่องจากสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ ได้ ในงานวิจัยนี้ วัสดุที่นำมาใช้ทดสอบคือ วัสดุประเภทเส้นใยที่ทำจากพอลิเอสเทอร์และพอลิโพรพิลีน การทดสอบสมบัติการดูดซับเสียงทำได้โดยนำวัสดุดูดซับ เสียงที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยและความหนาแน่นของเส้นใยในวัสดุ มาทดสอบด้วยท่ออิมพีแดนซ์ตาม มาตราฐานการทดสอบ ASTM E1050 ในการศึกษาผลของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยพบว่า วัสดุที่มีขนาดเส้น ใยเล็กกว่าสามารถดูดซับเสียงได้ดีกว่าวัสดุที่มีขนาดเส้นใยที่ใหญ่ ในการศึกษาผลของความหนาแน่นของเส้นใยในวัสดุ พบว่า เมื่อวัสดุมีความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพการดูดซับเสียงในช่วงความถี่ด่ำจะสูงขึ้น แต่ประสิทธิภาพการ ดูดซับเสียงในช่วงความถี่สูงจะลดลง และพบว่า วัสดุที่มีองค์ประกอบเป็นพอลิโพรพิลีนบริสุทธ์มีประสิทธิภาพการดูดซับ เสียงสูงกว่าววัสดุที่มีองค์ประกอบเป็นพอลีเอสเทอร์ |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78298 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-CHEM-008 - Thanawit ni.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.