Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช-
dc.contributor.authorเพ็ญประภา ปริญญาพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2023-02-03T05:15:48Z-
dc.date.available2023-02-03T05:15:48Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มี 3 การศึกษา การศึกษาที่ 1 สำรวจการรับรู้การจัดบุคลิกภาพหลากหลายของกลุ่มพุทธและมุสลิม (n =382) ในสามจังหวัดชายแดนใต้ การศึกษาที่ 2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดบุคลิกภาพแบบหลากหลายต่อเจตคติระหว่างกลุ่ม โดยมีความซับซ้อนของอัตลักษณ์ทางสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่านและค่านิยมส่วนบุคคลเป็นตัวแปรกำกับ  (n =150) การศึกษาที่ 3 ศึกษาผลการอ่านเรื่องราวการรับรู้บุคลิกภาพแบบหลากหลายและการเขียนเรียงความต่อต้านเจตคติที่มีต่อเจตคติระหว่างกลุ่มและความซับซ้อนของอัตลักษณ์ทางสังคม (n =105) ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ผลพบว่า 1) คะแนนการจัดบุคลิกภาพแบบหลากหลายระหว่างพุทธและมุสลิมมีความแตกต่างกัน 2) ค่านิยมส่วนบุคคลตัวแปรกำกับมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการจัดบุคลิกภาพแบบหลากหลายและเจตคติระหว่างกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามความซับซ้อนของอัตลักษณ์ทางสังคมไม่เป็นตัวส่งผ่านอย่างมีนัยสำคัญต่อความสัมพันธ์ทั้งสอง 3) ไม่พบความแตกต่างของคะแนนเจตคติระหว่างกลุ่มและความซับซ้อนของอัตลักษณ์ทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการทดลองทั้งภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม-
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted in 3 studies. Study 1 examined the perception of multiple personality categorization between Buddhists and Muslims (n=382) in three southern bordered provinces. Study 2 studied the relationship between multiple personality categorization and intergroup attitudes by social complexity as mediator and personal values as moderator (n=150). Study 3 examined the effect of reading stories of multiple personality categorization and essays writing on intergroup attitudes and social identity complexity between the experimental and control groups (n =105). The results found as follows: 1) There were differences in scores of multiple personality categorization between Buddhists and Muslims; 2) Personal values, a moderator, significantly impacted the relationship between multiple personality categorization and intergroup attitudes. However, social identity complexity did not significantly mediate that link; and 3) There were no statistical difference in scores of intergroup attitudes and social identity complexity after treatment  both within and between subject groups.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.537-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.titleการจัดบุคลิกภาพแบบหลากหลายและการเขียนเรียงความต่อต้านเจตคติต่อเจตคติระหว่างกลุ่มพุทธและมุสลิม : การศึกษาอิทธิพลส่งผ่านของความซับซ้อนของอัตลักษณ์ทางสังคมและอิทธิพลกำกับของค่านิยมส่วนบุคคลในพื้นที่ความไม่สงบภาคใต้ของไทย-
dc.title.alternativeMultiple personality categorization and counter-attitudinal essay writing on Buddhist-Muslim intergroup attitudes : a study of social identity complexity as a mediator and personal values as a moderator in the Southern unrest area of Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.537-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5977907238.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.