Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8393
Title: | Servitude of the ladies of The Royal Inner during the Reigns of King Rama IV, V, and VI |
Other Titles: | แนวคิดการเป็นข้าช่วงใช้ จากมุมมองของสตรีผู้เป็นข้าราชการสำนักฝ่ายใน ในสมัยรัชกาลที่สี่ รัชกาลที่ห้า และรัชกาลที่หก |
Authors: | Bee Melanie Ontrakarn |
Advisors: | Amara Pongsapich Sunait Chutintaranond |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
Advisor's Email: | Amara.p@chula.ac.th sunait.c@chula.ac.th |
Subjects: | Women -- Thailand -- Social conditions Courts and countries -- Thailand Thailand -- History -- 1851-1925 |
Issue Date: | 2005 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This thesis focuses on the Siamese idea of servitude to the royal family during the reigns of King Rama IV, King Rama V, and King Rama VI. Western literature has often labeled the royal inner court of Siam a "harem" based on slavery and male dominance. A majority of literature written about the inner court were those written by missionaries, suffragettes and education reformers whose perspective was that of human rights and democracy. Because those writers were unable to see Siamese society through a Siamese lens, the ambitions of women in the society were unfathomable to them. Westerners at the time did not understand that closeness to the king, regardless of one's duties was the highest ambition imaginable. New members were given to the king or princesses by willing parent or relatives, while others came of their won accord with the hope for royal favor or employment inside the palace. Young girls from noble and rich families were usually sent to the palace for a duration of time before they became marriageable, for the palace was the only place where they could be properly educated and obtain all the accomplishments and polish that were required of Siamese ladies of high birth. The decision to focus on the reigns of King Rama IV, King Rama V, and King Rama VI is that during these reigns, one sees that absolute height and downfall of the inner court. A majority of western literature and made popular to readers about the royal inner court encompasses this time period. With the Western colonization of neighboring countries during this period, it was vital that Siam portray itself as a modern society to maintain its autonomy. The end of the practice of polygamy by the King caused the inner court (fai nai) to change 180 degrees between King Rama V (1868-1915) and King Rama VI (1951-1925). In understanding Siamese sentiment towards being in service to the King, a variety of sources will be used. This will include interviews and journals of women who served in the royal inner court. Also an analysis will be conducted of academic work concerning Siamese ideas of sacral kingship, slavery and social hierarchy with the implicit purpose of ascertaining a more complete understanding of the beliefs imbedded in Siamese society. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งที่การศึกษาความคิดของไทยในการถวายงานของนางในในราชสำนัก ในรัชกาลที่สี่ รัชกาลที่ห้าและ รัชกาลที่หก ในงานเขียนของชาวตะวันตกจะพบว่า ราชสำนักสยามมักจะถูกเรียกว่าเป็น "ฮาเร็ม" โดยตั้งอยู่บนฐานความคิด เรื่อง การเป็นทาส และการมีอำนาจเหนือกว่าของเพศชาย งานเขียน ที่เกี่ยวกับ ราชสำนักฝ่ายในส่วนใหญ่แล้วเขียนโดย มิชชันนารีสอนศาสนา นักเคลื่อนไหวเรื่องสิทธิสตรี และนักปฏิรูปการศึกษา ผู้ซึ่งมีมุมมองไปทางด้านสิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย เนื่องจากว่านักเขียน เหล่านี้ไม่สามารถที่จะมองสังคมไทย ผ่านมุมมองของไทยได้ พวกเขาจึงไม่สามารถที่จะเข้าใจความตั้งใจ ของผู้หญิงในสังคมไทยได้ ชาวตะวันตกในขณะนั้นไม่เข้าใจว่า การได้ใกล้ชิดกับองค์พระมหากษัตริย์ ผู้เป็นเจ้าแผ่นดิน ไม่ว่าจะโดยการทำหน้าที่อะไรนั้น เป็นความหวัง จินตนาการอันสูงสุดของข้าแผ่นดิน ข้าราชสำนักถวายตัวในพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงนั้นล้วนมาจาก การที่บิดามารดา ญาติผู้ใหญ่ถวายด้วยความเต็มใจ หรือมิเช่นนั้นก็เป็นไปตามความปรารถนาของเจ้าตัวที่จะได้มีโอกาส รับใช้ใกล้ชิด หรือ ได้มีโอกาสเข้าไปทำงานในราชสำนัก หญิงสาวชนชั้นสูงทั้งจากตระกูลสูงส่งเก่าแก่ และจากตระกูลคหบดี ก็ได้ถวายตัวเข้าเป็นข้าราชสำนักก่อนที่จะถึงวัยแต่งงาน เนื่องจากราชสำนักเป็น สถานที่เดียวที่หญิงสาวเหล่านี้จะได้รับการศึกษา และการฝึกอบรมในทักษะดังที่กุลสตรีชั้นสูงพึงมี ผู้เขียนได้มุ่งเน้นไปที่การศึกษาเฉพาะในช่วงรัชกาลที่สี่ รัชกาลที่ห้าและ รัชกาลที่หก เนื่องจากภายใน รัชสมัยดังกล่าวจะเห็นได้ถึงวิวัฒนาการของราชสำนักฝ่ายใน จากจุดที่รุ่งเรืองที่สุดถึงจุดจบของราชสำนัก ฝ่ายใน งานเขียนส่วนใหญ่ของตะวันตกเกี่ยวกับราชสำนักฝ่ายในของสยามที่เป็นที่รู้จักกว้างขวางก็เป็น งานเขียนเกี่ยวกับราชสำนักฝ่ายในของไทยในช่วงเวลาที่กล่าวถึงนี้ ในขณะนั้นประเทศเพื่อนบ้านของไทย ต่างตกเป็นประเทศอาณานิคมภายใต้อำนาจตะวันตก ประเทศไทยจึงพยายามแสดงตนเป็นประเทศสังคม สมัยใหม่ เพื่อรักษาเอกราชไว้จากการรุกรานของประเทศนักล่าอาณานิคม เมื่อพระมหากษัตริย์ได้เลิก การมีพหุภรรยาตามธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิมแล้ว ก็ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิงของ ราชสำนักฝ่ายใน ระหว่างรัชกาลที่ห้า (1868-1915) และรัชกาลที่หก (1915-1925) ในการที่จะเข้าใจความ รู้สึกของชาวไทยในการได้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาทนั้น จำเป็นที่จะต้องศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่หลากหลายกันออกไป ในที่นี้ รวมไปถึงบทสัมภาษณ์ และบันทึกความทรงจำของสตรีผู้ที่เคยได้มีโอกาสได้ถวายตัวรับใช้ใกล้ชิด ในราชสำนักฝ่ายใน นอกจากนี้ผู้เขียนยังได้วิเคราะห์งานเขียนวิชาการเกี่ยวกับมโนทัศน์ เรื่อง ทัศนะความเป็นกษัตริย์ การเป็นทาส และชนชั้นในสังคม เพื่อที่จะได้สร้างความเข้าใจที่สมบูรณ์เกี่ยวกับความเชื่ออันเป็นพื้นฐานของสังคมไทยด้วย |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2005 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Thai Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8393 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1613 |
ISBN: | 9741424396 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2005.1613 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bee Melanie.pdf | 1.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.