DSpace Repository

การศึกษาความสัมพันธ์ของวิธีเรียนและความถนัดในการเรียนภาษาของผู้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ กับความสำเร็จในการเรียนภาษาอังกฤษตามความสามารถของแต่ละบุคคล : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author อัจฉรา วงศ์โสธร
dc.contributor.author กาญจนา ปราบพาล
dc.contributor.author ทัศนีย์ ศรีไพพรรณ
dc.contributor.author ทอรุ้ง จรุงกิจอนันต์
dc.contributor.author นิภาพร รัตนพฤกษ์
dc.contributor.author ภัสสร สิงคาลวณิช
dc.contributor.author อมตา เวชพฤติ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.date.accessioned 2009-11-19T04:49:47Z
dc.date.available 2009-11-19T04:49:47Z
dc.date.issued 2525
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11693
dc.description.abstract ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียนกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษอังกฤษด้วยวิธีเรียนด้วยตนเอง ตัวแปรข้างต้นประกอบด้วย ก. ความถนัดทางการเรียนภาษา ข. ทัศนคติและแรงจูงใจ ค. ความเข้าใจเรื่องรูปทรง 2 มิติ และ 3 มิติ ง. กลวิธีทางการเรียน จ. จำนวนปีที่ได้เรียนภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ งานวิจัยเรื่องนี้ยังศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวิธีเรียน และสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง วิธีเรียนประกอบด้วย ก. เรียนโดยการอ่านและฟัง ข. เรียนโดยการอ่านเพียงอย่างเดียว ค. เรียนโดยการฟังเพียงอย่างเดียว กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จำนวน 97 คน ซึ่งเป็นผู้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ ที่จัดเข้ากลุ่มตามผลการสอบข้อทดสอบมาตรฐานความสามารถภาอังกฤษ ข้อมูลที่ใช้ศึกษาได้แก่ ความถนัดทางการเรียนภาษา ทัศนคติแรงจูงใจ กิจนิสัยในการเรียน ความเข้าใจเรื่องรูปทรง 2 มิติ และ 3 มิติ และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษระหว่างเรียนและภายหลังการเรียนบทเรียน 20 หน่วย ผลการวิจัยให้ผลดังนี้ 1. ตัวแปรด้านผู้เรียนสามารถใช้อธิบายผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง 21% 2. ทัศนคติและแรงจูงใจมีส่วนร่วมในความแปรปรวนกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง 31% 3. ความเข้าใจเรื่องรูปทรง 2 มิติ และ 3 มิติ และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. วิธีเรียนมีส่วนร่วมในความแปรปรวนกับผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง 32% 5. วิธีการเรียนโดยการอ่านและฟังร่วมกัน และการเรียนโดยการอ่านเพียงอย่างเดียว ช่วยให้นักเรียนมีสัมฤทธิผลทางการเรียนภาษาอังกฤษสูงกว่าการเรียนโดยการฟังเพียงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้อาจจะเป็นไปได้ว่านักเรียนมีความคุ้นเคยกับการเรียนโดยการอ่านมากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการฝึกภาษาโดยการอ่านร่วมกับการฟัง จะช่วยให้ผู้เรียนมีสัมฤทธิผลทางการเรียนภาษาอังกฤษได้ดี en
dc.description.abstractalternative Individualized Language learning focusing on strengthening student achievement through their own efforts and attributes has become an acceptable mode of instruction in the field of teaching English as a foreign language. The present research set out to investigate 1. the relationships between student variables and then achievement in learning English in a self-study program; the variables included: a. language aptitude b. attitude and motivation c. space relations d. learning strategies e. years studying English 2. investigate the relationships between the modes of learning and student achievement in learning English in a self-study program; the modes of learning included: a. visual and auditory modes b. unitary visual mode c. unitary auditory mode The samples were 97 grade 7 students who were beginners in English. They were selected and grouped according to the results from a standardized English proficiency test. Data on their language aptitude, attitude, motivation, study habits, space relations and English achievement were collected during and after their English lessons which contained twenty units. The study yielded the following results: 1. Student variables could explained about 21% of English achievement in a self-study program. 2. Attitude and motivation shared 31% of the variance with English achievement. 3. Space relations and English achievement were not significantly correlated. 4. Modes of learning and English achievement shared 32% common variance. 5. Visual and auditory modes (reading and listening) and unitary, visual mode (reading only) led students to achieve at a significantly higher level than unitary auditory mode (listening only). This might partly be explained as a result of students’ familiarly with the visual mode, whereas their listening experience was rather limited. en
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2525 en
dc.format.extent 16627739 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน en
dc.subject การวัดความถนัดทางการเรียน en
dc.title การศึกษาความสัมพันธ์ของวิธีเรียนและความถนัดในการเรียนภาษาของผู้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ กับความสำเร็จในการเรียนภาษาอังกฤษตามความสามารถของแต่ละบุคคล : รายงานผลการวิจัย en
dc.type Technical Report es
dc.email.author achara_w@hotmail.com
dc.email.author kanchana.p@chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author torroongj@yahoo.com
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author amata53@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record